1 | พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติอปโลกนกรรม. (ปัญจวรรค) 10/973/10 10/889/5 |
2 | พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติกิจจาธิกรณ์ 4 (สมถะขันธกะ) 8/559/6 8/501/9 |
3 | การทำอปโลกนกรรมไม่ต้องตั้งญัตติ [ความต่างแห่งกรรม ๔] กรรมที่ต้องยังสงฆ์ผู้ตั้งอยู่ในสีมาให้หมดจดนำฉันทะของภิกษุผู้ควรฉันทะมา แล้วสวดประกาศ๓ ครั้ง ทำตามอนุมัติของสงฆ์ผู้พร้อมเพรียง ชื่อว่าอปโลกนกรรม. (ปัญจวัคควัณณนา) 10/983/10 10/897/11 |
4 | บรรดากรรมเหล่านั้น อปโลกนกรรม พึงทำเพียงอปโลกน์. ไม่ต้องทำด้วยอำนาจญัตติกรรมเป็นต้น. (สมถักขันธกวรรณนา) 8/615/1 8/549/12 |
5 | กรรมหกพึงทราบว่า กรรมไม่เป็นธรรม. ส่วนอปโลกนกรรมอันภิกษุย่อมทำเพียงสวดประกาศ (อ.จัมเปยยขันธกวรรณนา) 7/444/9 7/368/4 |
6 | วิธีทำอปโลกนกรรม ก็แลกติกวัตรนั้นภิกษุผู้ฉลาด พึงสวดประกาศโดยอนุมัติของสงฆ์ ดังนี้ พึงสวด ๓ ครั้ง. (ปัญจวัคคขันธกวรรณนา) 10/1007/5 10/918/1 |
7 | ผู้ไม่ได้รับสมมติควรอปโลกน์ให้. แม้ในสังฆาราม สงฆ์ก็ควรทำกติกาไว้ . (เตรสกัณฑวรรณนา) 3/657/10 3/620/3 |
8 | การทำอปโลกนกรรม ควรทำเฉพาะในสีมาหนึ่งๆ เท่านั้นไม่ควรอปโลกน์แจกแก่ภิกษุ ผู้ตั้งอยู่ภายนอกสีมา. (อ.วัสสูปนายิกขันธกะ) 6/562/14 6/512/22 |
9 | ไม่ควรทำอปโลกนกรรมให้เนื่องด้วยสงฆ์ และที่เนื่องด้วยสิ่งของอันไม่สมควร. (เสนาสนักขันธกวรรณนา) 9/199/1 9/201/26 |
10 | ตัวอย่างของกรรมที่ควรทำอปโลกนกรรม (ปัญจวรรค) 10/969/1 10/884/18 |
11 | สถานที่ควรทำอปโลกนกรรมและวัดที่มีภิกษุอยู่รูปเดียวก็ทำอปโลกนกรรมได้. (ปัญจวัคควัณณนา) 10/1004/18 10/916/2 |