1 | ปัญญาญาณ 73 (มาติกา) 68/1/868/1/8 68/1/8 |
2 | ปฏิสัมภิทามี 4 คือ ปัญญาแตกฉานในอรรถ , ปัญญาแตกฉานในธรรม , ปัญญาแตกฉานในนิรุตติ , ปัญญาแตกฉานในปฏิภาณ (คันถารัมภกถา) 68/12/568/12/5 68/8/9 |
3 | ภาษามคธ มีมากในที่ทั้งปวง คือ ในนรก ในกำเนิดดิรัจฉาน ในเปตติวิสัย ในมนุษยโลก ในเทวโลก (คันถารัมภกถา) 68/19/1368/19/13 68/12/26 |
4 | ปฏิสัมภิทา ย่อมถึงซึ่งประเภทในฐานะ 2 คือ เสกขภูมิ อเสกขภูมิ (คันถารัมภกถา) 68/20/1668/20/16 68/13/20 |
5 | ปฏิสัมภิทาย่อมผ่องใสด้วยเหตุ 5 ประการ คือ ด้วยอธิคม ปริยัติ สวนะ ปริปุจฉา ปุพพโยคะ (คันถารัมภกถา) 68/21/968/21/9 68/14/5 |
6 | ธรรม 8 ประการ ที่เป็นปัจจัยแก่ปฏิสัมภิทา (คันถารัมภกถา) 68/23/368/23/3 68/15/6 |
7 | พระพุทธเจ้า และพระปัจเจกพุทธเจ้า อาศัยปุพพโยคะ และอธิคม แล้วบรรลุปฏิสัมภิทา ส่วนพระสาวก ต้องอาศัยเหตุทั้งหมดแล้วจึงบรรลุปฏิสัมภิทา .(คันถารัมภกถา) 68/24/268/24/2 68/15/21 |
8 | ปฏิสัมภิทามรรคปกรณ์นี้ สงเคราะห์เข้าใน เคยยะ และเวยยากรณะ มี 3 วรรค 30 กถา (คันถารัมภกถา) 68/26/568/26/5 68/17/8 |
9 | " ดูก่อนภิกษุเพราะเหตุนั้นแหละ เธอจงยังเบื้องต้นแห่งกุศลธรรมทั้งหลายให้บริสุทธิ์ก่อน , เบื้องต้นแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย คือ อะไร ? คือ ศีลอันบริสุทธิ์ดีและความเห็นชอบ" (คันถารัมภกถา) 68/27/1368/27/13 68/18/6 |
10 | บรรดาองค์ทั้ง 8 นั้น สัมมาทิฏฐิย่อมเป็นประธาน (คันถารัมภกถา) 68/28/168/28/1 68/18/11 |
11 | องค์แห่งการบรรลุโสดาบัน 4 อย่าง มีการคบหากับสัตบุรุษ เป็นต้น (คันถารัมภกถา) 68/30/1068/30/10 68/19/16 |
12 | โสต ศัพท์ย่อมปรากฏในอรรถว่า มังสโสตะ , โสตวิญญาณ , ญาณโสตะ , กระแสแห่งตัณหาเป็นต้น , สายธารแห่งกระแสน้ำ , อริยมรรค , และ แม้ในความสืบต่อแห่งจิต (อ.สุตมยญาณุทเทส) 68/33/768/33/7 68/21/8 |
13 | สุต ศัพท์ ย่อมปรากฏในอรรถว่า ไป , ปรากฏ ,กำหนัด , ประกอบเนืองๆ ,สั่งสม ,สัททารมณ์ , รู้ได้ตามครรลองแห่งโสตทวาร. (อ.สุตมยญาณุทเทส) 68/35/1568/35/15 68/23/4 |
14 | สุตมยญาณ คือ ญาณอันสำเร็จแล้วด้วยการฟัง (อ.สุตมยญาณุทเทส) 68/37/968/37/9 68/23/22 |
15 | ญาณ มีการแทงตลอดสภาวะเป็นลักษณะ มีการส้องเสพซึ่งอารมณ์เป็นรส มีความไม่หลงเป็นปัจจุปัฏฐาน มีสมาธิเป็นปทัฏฐาน. (อ.สุตมยญาณุทเทส) 68/38/768/38/7 68/24/14 |
16 | ธรรม 5 ประการ คือ ปาฏิโมกข์ สติ ญาณ ขันติ และวิริยะ ท่านแสดงว่าสังวร.(อ.สีลมยญาณุทเทส) 68/39/468/39/4 68/25/5 |
17 | ศีล เพราะอรรถว่า สำรวม , เป็นที่รองรับ , เย็น , เกษม (อ.สีลมยญาณุทเทส) 68/42/968/42/9 68/26/22 |
18 | ศีลมีความสะอาดเป็นปัจจุปัฏฐาน มีหิริ และโอตตัปปะ เป็นปทัฏฐาน.(อ.สีลมยญาณุทเทส) 68/44/468/44/4 68/28/1 |
19 | การพิจารณาโทษในการไม่สำรวม , การพิจารณาอานิสงส์ในการสำรวม , การพิจารณาความบริสุทธิ์ในการสำรวม , การพิจารณาความขาวสะอาดจากสังกิเลสในเพราะการสำรวม ท่านสงเคราะห์ด้วยสีลมยญาณนั่นแล (อ.สีลมยญาณุทเทส) 68/45/168/45/1 68/28/11 |
20 | ชื่อว่า สมาธิ เพราะอรรถว่าตั้งมั่น , การวาง การตั้ง ซึ่งจิต และเจตสิกไว้ในอารมณ์เดียว โดยชอบด้วยดี พึงทราบว่า เป็นสมาธาน (อ.สมาธิภาวนามยญาณุทเทศ) 68/45/1568/45/15 68/29/5 |
21 | ธรรมชาติใด อันบุคคลอบรมอยู่ เจริญอยู่ ธรรมชาตินั้นชื่อว่า ภาวนา.(อ.สมาธิภาวนามยญาณุทเทศ) 68/46/968/46/9 68/29/14 |
22 | ธาตุนั้น ตั้งอยู่แลชื่อว่า ธรรมฐิติ ธรรมนิยาม. ธรรมทั้งหลายอาศัยปัจจัยเกิดขึ้นย่อมตั้งขึ้น คือ ย่อมเกิดขึ้นด้วย ย่อมเป็นไปด้วยธรรมชาติใด ฉะนั้น ธรรมชาตินั้นจึงชื่อว่า ธรรมฐิติ เป็นชื่อของปัจจัยธรรมทั้งหลาย ญาณในธรรมฐิติ ชื่อว่า ธัมมัฏฐิติญาณ. (อ.ธัมมัฏฐิติญาณุทเทส) 68/49/968/49/9 68/31/15 |
23 | ปัญญาในการกำหนดปัจจัย เป็นธัมมัฏฐิติญาณดังนี้ไว้ เพื่อจะให้รู้ว่า ตราบใดที่อริยมรรคยังไม่ละสมาธิ ทำสมาธิกับปัญญาให้เป็นธรรมคู่กัน พระโยคีบุคคลก็จำต้องขวนขวายตราบนั้น. (อ.ธัมมัฏฐิติญาณุทเทส) 68/51/768/51/7 68/32/22 |
24 | สัมมสนญาณ แปลว่า ญาณในการพิจารณาเบญจขันธ์ , ปัญญาในการรวบรวมเอาขันธ์ 5 ทั้งที่เป็นอดีตอนาคต ปัจจุบันเหล่านั้นเข้าไว้ในขันธ์หนึ่งๆ ทำให้เป็นหมวดหมู่แล้วกำหนด วินิจฉัย ตัดสินได้ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา การกำหนดนี้เป็นสัมมสนญาณ ประการหนึ่ง.(อ.สัมมสนญาณุทเทส) 68/52/468/52/4 68/33/12 |
25 | อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ คือ ปัญญาในการตามเห็นการเกิดขึ้น และความดับไปแห่งปัจจุบันธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดแก่พระโยคีบุคคลผู้บรรลุ สัมมสนญาณ.(อ.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณุทเทส) 68/54/268/54/2 68/34/19 |
26 | คำว่าปัญญาในการพิจารณาอารมณ์ แล้วพิจารณาเห็นความแตกดับไป เป็นวิปัสสนาญาณ (อ.วิปัสสนาญาณุทเทส) 68/55/868/55/8 68/35/11 |
27 | ธรรมเหล่านั้น คือ ปัญญาในความปรากฏโดยความเป็นภัย , อาทีนวญาณ , นิพพิทาญาณ , มีอรรถอย่างเดียวกัน ต่างกันแต่พยัญชนะเท่านั้น..(อ.อาทีนวญาณุทเทส) 68/57/368/57/3 68/37/4 |
28 | ในภพ กำเนิด คติ ฐิติ และสัตตาวาสทั่วทุกแห่งหน ที่ต้านทาน ที่ซ่อนเร้น ที่พึ่งย่อมไม่ปรากฏเลย แก่ผู้เสพอยู่เจริญอยู่กระทำให้มากอยู่ ซึ่งปัญญาในความปรากฏโดยความเป็นภัย (อ.อาทีนวญาณุทเทส) 68/58/568/58/5 68/37/20 |
29 | ความวางเฉย ในสังขารทั้งปวง ย่อมเกิดขึ้นได้อย่างนี้.(อ.สังขารุเปกขาญาณุทเทส) 68/63/1668/63/16 68/41/17 |
30 | อนุโลมญาณ (อ.สังขารุเปกขาญาณุทเทส) 68/67/968/67/9 68/43/15 |
31 | ชื่อว่า โคตรภู เพราะครอบงำเสียได้ซึ่งโคตรปุถุชน และเพราะก้าวขึ้นสู่โคตรอริยะ.(อ.โคตรภูญาณุทเทส) 68/69/1268/69/12 68/45/2 |
32 | มรรคญาณนั้นเกิดขึ้น ทำพระนิพพานให้เป็นอารมณ์ต่อจากโคตรภูญาณ ตัดกิเลสอันจะพึงฆ่าได้เองโดยไม่มีส่วนเหลือ ปิดประตูอบายทั้งปวง กระทำอริย-ทรัพย์ 7 ให้ปรากฏ ละมิจฉามรรค ทำเวรภัยทั้งปวงให้สงบ. (อ.มัคคญาณุทเทส) 68/71/1168/71/11 68/46/12 |
33 | ผลญาณ คือ ญาณอันประกอบด้วยผลจิต ซึ่งต่อจากมรรคญาณหนึ่งๆ เป็นวิบากแห่งมรรคจิตนั้นๆ นั่นแหละมีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เกิดขึ้น 3 ขณะ ก็มี 2 ขณะก็มี 1 ขณะก็มี นี้เป็นผลในมรรควิถี ส่วนผลในระหว่างกาล เกิดขึ้นด้วยอำนาจสมาบัติ และเกิดขึ้นแก่ผู้ออกจากนิโรธสมาบัติ ก็สงเคราะห์ ด้วยผลญาณนี้.(อ.ผลญาณุทเทส) 68/74/1668/74/16 68/48/15 |
34 | วิมุตติ ได้แก่ จิตบริสุทธิ์หลุดพ้นจากอุปกิเลสทั้งหลาย หรือความที่จิตนั้นหลุดพ้นแล้ว ญาณ คือ ความรู้ในวิมุตตินั้น ชื่อว่า วิมุตตญาณ (อ.วิมุตติญาณุทเทส) 68/76/1068/76/10 68/49/18 |
35 | พระอรหันต์ไม่มีการ พิจารณากิเลสที่ยังเหลืออยู่ (อ.วิมุตติญาณุทเทส) 68/77/868/77/8 68/50/11 |
36 | ปัจจเวกขณญาณ คือ ญาณเป็นเครื่องหมุนกลับมาเห็นรู้แจ่มแจ้ง พระโสดาบันพระสกทาคามี พระอนาคามี มีปัจจเวกขณะ 5 อย่าง แต่พระอรหันต์ มี 4 อย่าง.(อ.ปัจเจเวกขณญาณุทเทส) 68/78/268/78/2 68/51/1 |
37 | อุปมาเพื่อจะให้ทราบ ญาณ 11 มีธรรมฐิติญาณแจ่มแจ้ง (อ.ปัจเจเวกขณญาณุทเทส) 68/79/1168/79/11 68/51/25 |
38 | ลำดับนั้น มี 5 อย่าง คือ ลำดับแห่งการเกิดขึ้น ลำดับแห่งการละ ลำดับแห่งการปฏิบัติ ลำดับแห่งภูมิ ลำดับแห่งเทศนา (อ.ปัจเจเวกขณญาณุทเทส) 68/82/868/82/8 68/54/1 |
39 | ชื่อว่า อัชฌัตตะ เพราะอรรถว่า ทำตนให้เป็นใหญ่โดยประสงค์ว่า เราเมื่อเป็นไปอยู่อย่างนี้ ก็จักถึงการยึดมั่นว่าเป็นอัตตาตัวตน (อ.วัตถุนานัตตญาณุทเทส) 68/85/1568/85/15 68/55/17 |
40 | คำว่า พหิทธา (ภายนอก) ความว่าในอารมณ์แห่งญาณเหล่านั้น อันมีในภายนอกคำว่า โคจรนานัตเต (ในความต่างๆ แห่งโคจร) ได้แก่ ในความต่างๆ แห่งวิสยะคืออารมณ์ (อ.โคจรนานัตตญาณุทเทส) 68/87/1268/87/12 68/57/3 |
41 | คำว่า จริยาววัตถาเน ในการกำหนดจริยา ความว่า ในการกำหนดจริยาทั้งหลายคือ วิญญาณจริยา อัญญาณจริยา และญาณจริยา (อ.จริยานานัตตญาณุทเทส) 68/88/368/88/3 68/57/9 |
42 | คำว่า จตุธัมมววัตถาเน - ในการกำหนดธรรม 4 ความว่า ในการกำหนดธรรมทั้งหลายอย่างละ 4 ด้วยสามารถแห่งธรรมทั้งหลาย 14 มีธรรมในกามาวจรภูมิเป็นต้นหมวดละ 4 , คำว่า ภูมิ ภาคพื้นย่อมเป็นไปในอรรถว่าปฐวีแผ่นดิน..(อ.ภูมินานัตตญาณุทเทส) 68/88/868/88/8 68/58/3 |
43 | คำว่า นวธัมมววัตถาเน - ในการกำหนดธรรม 9 ความว่าในการกำหนดธรรมทั้งหลายอย่างละ 9 ด้วย สามารถแห่งกามาวจรกุศลจิต , ด้วยสามารถแห่งจิตมีความปราโมทย์เป็นมูล และด้วยสามารถแห่งจิตมีมนสิการเป็นมูล.(อ.ธัมมนานัตตญาณุทเทส) 68/89/768/89/7 68/58/15 |
44 | ปริญญา 3 คือ การกำหนดรู้นามรูปโดยประเภท เป็นญาตปริญญา ต่อจากนั้นก็เป็นตีรณปริญญา ในลำดับต่อไปก็เป็นปหานปริญญา (อ.ตัฏฐญาณุทเทส) 68/90/368/90/3 68/59/10 |
45 | ปัญญา ท่านเรียกว่า ปริญญา คือ ความรู้ที่ซึมซาบไปด้วย สามารถแห่งสามัญ-ลักษณะ มีอนิจจลักษณะ เป็นต้น , ตีรณัฏฐญาณ ได้แก่ ญาณมีการเข้าไปใคร่ครวญเป็นสภาวะ(อ.ตีรณัฏฐญาณุทเทส) 68/92/1368/92/13 68/61/5 |
46 | ปหาเนปัญญา-ปัญญาในการละ ความว่า ปัญญาเป็นเครื่องละวิปลาสทั้งหลายมีนิจสัญญาวิปลาส เป็นต้น ปริจจาคัฏฐญาณ ได้แก่ ญาณมีการสละนิจสัญญา-วิปลาส เป็นต้น เป็นสภาวะ (อ.ปริจจาคัฏฐญาณุทเทส) 68/93/568/93/5 68/61/16 |
47 | เอกรสัฏฐญาณ ได้แก่ ญาณมีกิจอันเดียวเป็นสภาวะ หรือ ญาณมีรสอันเป็นสภาวะ คือ วิมุตติ (อ.เอกรสัฏฐญาณุทเทส) 68/94/168/94/1 68/62/5 |
48 | ผัสสนัฏฐญาณ ได้แก่ ญาณมีการได้ซึ่งพระนิพพานเป็นสภาวะ ด้วยสามารถแห่งการแทงตลอด และการได้เฉพาะทั้ง 2 นั้น (อ.ผัสสนัฏฐญาณุทเทส) 68/94/868/94/8 68/62/11 |
49 | ปฏิสัมภิทา 4 นั้น อรรถะ คือ ผลธรรมอันเกิดแต่ปัจจัย ย่อมปรากฏดุจทุกขสัจจะอรรถกถาอรรถปฏิสัมภิทา ธรรมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณ ปฏิสัมภิทาญาณุทเทส.(อรรถกถา ๒๕-๒๘) 68/95/468/95/4 68/63/8 |
50 | วิหารัฏฐญาณ เป็นธรรมปฏิสัมภิทา , สมาปัตตัฏฐญาณ เป็นอรรถปฏิสัมภิทา.อรรถกถาวิหารัฏฐสมาปัตตัฏฐญาณุทเทส (อรรถกถา ๒๙-๓๑) 68/96/168/96/1 68/64/7 |
51 | ธรรมชาติใดย่อมไหลไป ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า อาสวะ 68/98/668/98/6 68/66/4 |
52 | สมาธิในมรรคได้ชื่อว่า อานันตริกะ เพราะให้ผลโดยแน่นอน ทีเดียวในลำดับแห่งความเป็นของตน. เพราะเมื่อมรรคสมาธิ เกิดขึ้นแล้ว อันตรายอะไรๆ ที่จะขัดขวางการเกิดขึ้นแห่งผลของมรรคสมาธินั้น ย่อมไม่มี (อ.อานันตริกสมาธิญาณุทเทส) 68/99/968/99/9 68/66/23 |
53 | รณะ คือ กิเลส เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้คร่ำครวญไม่มีแก่ธรรมนั้น ฉะนั้น ธรรมนี้จึงชื่อว่า อรณะ , พระอริยบุคคล ย่อมนำธรรมอันเป็นข้าศึกออกได้ด้วยธรรมนั้นฉะนั้น จึงชื่อว่า วิหาระ นำธรรมที่เป็นข้าศึกออก อรณธรรมนั้น ก็ชื่อว่า วิหารธรรม.(อ.อรณวิหารญาณุทเทส) 68/102/1468/102/14 68/68/25 |
54 | อรณธรรม (อ.อรณวิหารญาณุทเทส) 68/103/868/103/8 68/69/11 |
55 | ปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญ ความว่า อิสริยะความเป็นใหญ่เป็นไปตามสบายโดยพลัน ชื่อว่า วสะ-อำนาจ , วสะ คืออำนาจนั้นมีอยู่แก่บุคคลนั้น ฉะนั้นผู้นั้นชื่อว่า วสี-ผู้มีอำนาจ (อ.นิโรธสมาปัตติญาณุทเทส) 68/109/868/109/8 68/72/18 |
56 | นิโรธสมาบัติ ความว่า สักว่าไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนะ , จะว่าเป็นธรรมใดธรรมหนึ่งก็มิใช่. เป็นเพียงบัญญัติ ชื่อว่า นิโรธ เพราะเหตุสักว่าไม่มี, อนึ่งอันพระอริยบุคคลเข้าอยู่ ท่านจึงเรียกว่า สมาบัติ (อ.นิโรธสมาปัตติญาณุทเทส) 68/110/468/110/4 68/73/7 |
57 | ปรินิพพานญาณ ได้แก่ ญาณอันเป็นไปแล้ว ในกิเลสปรินิพพาน และขันธปรินิพ-พาน นั้นของพระอรหันต์ผู้พิจารณาอยู่ซึ่งความดับไป คือ ความไม่เป็นไปแห่งกิเลสทั้งหลาย มีกามฉันทะ เป็นต้น และอนุปาทิเสสปรินิพพานดับกิเลส และขันธ์โดยไม่เหลือ. (อ.ปรินิพพานญาณุทเทส) 68/111/168/111/1 68/74/3 |
58 | การสิ้นไปแห่งอาสวะ และการสิ้นไปแห่งชีวิตของบุคคลใด มีไม่ก่อน ไม่หลังบุคคลนี้ เรียกว่า สมสีสี , มีอยู่ 3 จำพวก คือ อิริยาปถสมสีสี โรคสมสีสี ชีวิตสมสีสี(อ.สมสีสัฏฐญาณุทเทส) 68/113/168/113/1 68/75/14 |
59 | สัลเลขัฏฐญาณ ในอรรถว่าขัดเกลา มีวิเคราะห์ว่า ธรรมใด ย่อมขัดเกลา ย่อมตัดขาดปัจนิกธรรม ทั้งหลาย ธรรมนั้นจึงชื่อว่า สัลเลขะ ขัดเกลา , ญาณในธรรม 37ประเภท มีเนกขัมมะนั้น มีการขัดเกลาเป็นสภาวะ (อ.สัลเลขัฏฐญาณุทเทส) 68/116/1568/116/15 68/77/20 |
60 | วีริยารัมภญาณ คือ ญาณในการปรารภความเพียร, วีริยะ นั้นมีความอุตสาหะเป็นลักษณะ มีการไม่ย่อท้อเป็นอาการปรากฏเฉพาะหน้า (อ.วีริยารัมภญาณุทเทส) 68/119/1468/119/14 68/79/19 |
61 | อารัมภ ศัพท์ มีอรรถว่า กรรม , อาบัติ , กิริยา , วีริยะ , หิงสา , วิโกปนะ.(อ.วีริยารัมภญาณุทเทส) 68/120/968/120/9 68/80/3 |
62 | คำว่า อัตถสันทัสสเน-ในการแสดงให้เห็นชัดซึ่งอรรถธรรม ความว่า ในการแสดงให้เห็นชัดซึ่งอรรถธรรมต่างๆ แก่ชนทั้งหลายเหล่าอื่น.ธรรมทั้งหลาย และอรรถทั้งหลาย ชื่อว่า อรรถธรรมทั้งหลาย เหล่านั้นเอง. (อ.อัตถสันทัสนญาณุทเทส) 68/123/168/123/1 68/81/17 |
63 | สังคหะ การสงเคราะห์ มี 4 อย่าง คือ สงเคราะห์โดยชาติ โดยสัญชาติ โดยการกระทำ โดยการนับ (อ.ทัสนวิสุทธิญาณุทเทส) 68/124/568/124/5 68/82/17 |
64 | ทัสสนะวิสุทธิญาณ คือ ญาณในความบริสุทธิ์แห่งมรรคญาณ และผลญาณ.(อ.ทัสนวิสุทธิญาณุทเทส) 68/126/168/126/1 68/83/24 |
65 | ขันติญาณ ความว่า ธรรมชาติใดย่อมรู้ธรรมโดยความเป็นของไม่เที่ยงนั่นเองจึงชื่อว่า ขันติ , ญาณ คือ ขันติ ชื่อว่า ขันติญาณ (อ.ขันติญาณุทเทส) 68/126/1468/126/14 68/84/13 |
66 | ปริโยคาหณญาณ ความว่า ญาณใด ย่อมหยั่งลง ย่อมเข้าไปสู่ธรรมอันญาณผัสสะถูกต้องแล้วนั่นเอง ฉะนั้นญาณนั้นจึงชื่อว่า ปริโยคาหณญาณ.(อ.ปริโยคาหณญาณุทเทส) 68/127/968/127/9 68/85/7 |
67 | ปเทสวิหารญาณ คือ ธรรมเป็นเครื่องอยู่ส่วนหนึ่ง โดยส่วนแห่งธรรมมีขันธ์เป็นต้นปเทสะ มีอย่างต่างๆ คือ ขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะ อินทริย ปัจจยาการ สติปัฏฐาน ฌาน นามรูป ธัมมะ (อ.ปเทสวิหารญาณุทเทส) 68/129/368/129/3 68/86/15 |
68 | สัญญาวิวัฏญาณ คือ ญาณในความหลีกออกจากนิวรณ์ด้วยสัญญา อธิบายว่าการหลีกออกการหมุนออก ความเป็นผู้หันหลังให้นิวรณ์ มีกามฉันทะ เป็นต้น ได้ด้วยสัญญา สัญญานั้น มีความจำอารมณ์ เป็นลักษณะ มีการจำอารมณ์ได้และทำนิมิตไว้ เป็นกิจ (อ.สัญญาวิวัฏญาณุทเทส) 68/131/968/131/9 68/88/8 |
69 | เจโตวิวัฏญาณ คือ ญาณในการหลีกออกจากนิวรณ์ด้วยใจ ความว่า การออกจากนิวรณ์ มีกามฉันทะ เป็นต้น ได้ด้วยใจ เป็นญาณในกุศลธรรม คำว่า เจโตนี้ประสงค์เอา เจตนา เจตนานี้มีการชักชวนเป็นลักษณะ มีการรวบรวมมา เป็นกิจ.(อ.เจโตวิวัฏญาณุทเทส) 68/133/168/133/1 68/89/11 |
70 | จิตวิวัฏญาณ คือ ญาณในการออกไปแห่งจิต ความว่า ญาณในการหลีกออกแห่งจิตด้วยสามารถแห่งการละนิวรณ์ จิตมีการรู้นิวรณ์ เป็นลักษณะ มีการเกิดก่อนและเป็นประธานในธรรมทั้งปวงเป็นกิจ (อ.จิตวิวัฏญาณุทเทส) 68/133/1668/133/16 68/90/5 |
71 | ญาณวิวัฏญาณ คือ ญาณในความหลีกออกด้วยญาณ ความว่า ญาณนั่นแหละย่อมหลีกออกจากความยึดถือมั่น จึงชื่อว่า วิวัฏฏะ (อ.ญาณวิวัฏญาณุทเทส) 68/134/1268/134/12 68/90/19 |
72 | วิโมกขวิวัฏฏญาณ คือ ญาณในการหลีกออกแห่งจิตด้วยวิโมกข์ ความว่า ธรรมใดย่อมพ้นจากนิวรณ์ ทั้งหลายมีกามฉันทะ เป็นต้น ธรรมนั้น ชื่อว่า วิโมกข์ การหลีกออก คือ วิโมกข์ ชื่อว่า วิโมกขวิวัฏฏะ (อ.วิโมกขวิวัฏญาณุทเทส) 68/135/768/135/7 68/91/10 |
73 | สัจวิวัฏญาณ คือ ญาณในการหลีกออกด้วยสัจจะ ความว่า ธรรมใดย่อมหลีกออกด้วยสามารถแห่งการออกจากส่วนสุดทั้ง 2 ในสัจจะทั้ง 4 ฉะนั้น ธรรมนั้นชื่อว่าสัจวิวัฏฏะ (อ.สัจวิวัฏญาณุทเทส) 68/135/1668/135/16 68/92/6 |
74 | คำว่า เอกววัตถานตา เพราะการกำหนดเข้าเป็นอันเดียวกัน อธิบายว่า ด้วยทิส-มานกาย หรืออทิสมานกาย เพราะตั้งไว้โดยความเป็นอันเดียวกัน กับบริกรรมจิตและเพราะกระทำกาย และจิตให้ระคนกันตามที่จะประกอบได้ ในคราวที่ประสงค์จะไป (อ.อิทธิวิธญาณุทเทส) 68/137/1468/137/14 68/93/17 |
75 | อุเบกขาในจตุตถฌาน ท่านกล่าวว่า สงบ เป็นสุข สัญญาที่ประกอบกับอุเบกขานั้น ชื่อว่า สุขสัญญา สุขสัญญานั่นแหละ ชื่อว่า ลหุสัญญา เพราะพ้นนิวรณ์ทั้งหลาย และปัจนิกธรรม มีวิตก เป็นต้น (อ.อิทธิวิธญาณุทเทส) 68/138/668/138/6 68/94/4 |
76 | อิทธิวิธญาณ คือ ญาณในการแสดงฤทธิ์ได้ต่างๆ , ชื่อว่า อิทธิ-ฤทธิ์ ในอรรถว่าสำเร็จ เนกขัมมะย่อมกำจัด กามฉันทะ, อรหัตมรรค ย่อมทำลายกิเลสทั้งหมดได้จึงชื่อว่า ปาฏิหาริย์ (อ.อิทธิวิธญาณุทเทส) 68/138/1768/138/17 68/94/15 |
77 | ธรรมชาติใดย่อมตรึก ธรรมชาตินั้น จึงชื่อว่า วิตก วิตกนั้นมีการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ เป็นลักษณะ มีการประคองจิตไว้ในอารมณ์ เป็นกิจ (อ.โสตธาตุวิสุทธิญาณุทเทส) 68/141/168/141/1 68/95/19 |
78 | โสตธาตุวิสุทธิญาณ คือ ญาณในโสตธาตุอันบริสุทธิ์ ปราศจากอุปกิเลส. (อ.โสตธาตุวิสุทธิญาณุทเทส) 68/142/668/142/6 68/96/23 |
79 | เจโตปริยญาณ คือ ญาณในการกำหนดด้วยใจ ด้วยการแผ่ไป.(อ.เจโตปริยญาณุทเทส) 68/144/1168/144/11 68/98/13 |
80 | บุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ ญาณเป็นเครื่องระลึกถึงชาติก่อนๆ ได้ ความว่า ขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในก่อน คือ ในอดีตชาติ ชื่อว่า บุพเพนิวาสะ.(อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณุทเทส) 68/145/1268/145/12 68/99/13 |
81 | ทิพจักขุญาณ คือ ญาณในทิพจักขุ ด้วยอำนาจแสงสว่างแห่งกสิณ อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ เตโชกสิณ โอทาตกสิณ อาโลกกสิณ อันเป็นอารมณ์แห่งจตุตถ-ฌานอันแผ่ไปเพื่อเห็นรูป ด้วยทิพยจักษุ (อ.ทิพจักขุญาณุทเทส) 68/146/1268/146/12 68/100/6 |
82 | อาสวักขยญาณ คือ ญาณในความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ความว่า อรหัต-มรรคญาณอันกระทำความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลายอันตนฆ่าเสียแล้ว.(อ.อาสวักขยญาณุทเทส) 68/149/568/149/5 68/102/9 |
83 | บรรดาสัจจะทั้ง 4 นั้น ทุกขสัจจะ เป็นของหยาบ เพราะมีอยู่ทั่วไปแก่สัตว์ทั้งปวงและเป็นของที่รู้โดยง่าย, แล้วแสดงสมุทัยสัจจะ เพื่อแสดงเหตุแห่งทุกขสัจจะนั้นต่อจากนั้นก็แสดงนิโรธสัจจะ เพื่อให้รู้ว่าผลดับ ก็เพราะเหตุดับ แล้วแสดงมรรคสัจจะในที่สุด เพื่อจะแสดงอุบายเป็นเครื่องบรรลุถึงซึ่งนิโรธสัจจะนั้น.(อรรถกถา ๕๖-๕๙) 68/149/1568/149/15 68/102/19 |
84 | เรียกว่า ทุกข์ เพราะ ความเป็นของน่าเกลียด และเพราะเป็นความว่างเปล่า เรียกว่า ทุกขสมุทัย เพราะเหตุที่สัจจะทั้ง 2 เป็นเหตุเกิดแห่งทุกข์ในเมื่อมีการประกอบ เรียกว่า ทุกขนิโรธ เพราะเป็นปัจจัยแก่การดับไม่เกิดแห่งทุกข์ , มรรคมีองค์ 8 นี้ย่อมถึงซึ่งทุกขนิโรธ เพราะมุ่งหน้าต่อทุกขนิโรธนั้น จึงเรียกว่า ทุกขนิ-โรธคามินีปฏิปทา อรรถกถาทุกขทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาญาณุทเทส (อรรถกถา ๖๐-๖๓) 68/151/1668/151/16 68/104/14 |
85 | ปฏิสัมภิทาญาณ สำเร็จแก่พระอริยบุคคลทั้งปวงได้ด้วยอานุภาพแห่งอริยมรรคเท่านั้น , ญาณที่ท่านแสดงในลำดับมีทุกข์ และมีนิโรธเป็นอารมณ์ เป็นอรรถ-ปฏิสัมภิทาญาณ มีสมุทัย และมีมรรคเป็นอารมณ์ เป็นธรรมปฏิสัมภิทา, ญาณในโวหารอันแสดงอรรถและธรรมนั้น เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทา , ญาณในญาณทั้ง3 เหล่านั้น เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทา อรรถกถาอัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณุทเทส (อรรถกถา ๖๔-๖๗) 68/154/468/154/4 68/106/5 |
86 | อินทริยปโรปริยัตตญาณ คือ ญาณในความยิ่งและหย่อนแห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลายนี้ มีเฉพาะพระพุทธเจ้าเท่านั้น เป็นอสาธารณญาณ 6.(อ.อินทริยปโรปริยัตตญาณุทเทส) 68/155/368/155/3 68/107/3 |
87 | อาสยานุสยญาณ คือ ญาณในอาสยานุสัยของสัตว์ทั้งหลาย , เพราะข้องอยู่ด้วยฉันทราคะในขันธ์ทั้งหลายมีรูปขันธ์ เป็นต้น จึงเรียกว่า สัตว์ทั้งหลาย.(อ.อาสยานุสยญาณุทเทส) 68/158/368/158/3 68/109/3 |
88 | ชื่อว่า ยมกะ เพราะทำกองไฟ และท่อธาร แห่งน้ำ เป็นต้น ให้เป็นไปในคราวเดียวกันไม่ก่อน ไม่หลัง , ชื่อว่า ปาฏิหีระ เพราะกำจัดเสียซึ่งปฏิปักขธรรมทั้งหลายมีความไม่เชื่อ เป็นต้น (อ.ยมกปาฏิหีรญาณุทเทส) 68/160/168/160/1 68/110/7 |
89 | มหากรุณาสมาปัตติญาณ คือ ญาณในมหากรุณาสมาบัติ , ธรรมชาติใด ครั้นเมื่อทุกข์ของผู้อื่นมีอยู่ ย่อมทำความหวั่นใจ แก่สาธุชนทั้งหลาย ย่อมเบียดเบียนทำลายทุกข์ของผู้อื่น ฉะนั้นธรรมชาตินั้น ชื่อว่า กรุณา กรุณาใหญ่ ชื่อว่า มหา-กรุณา ด้วยอำนาจกรรม คือ การแผ่ไปและด้วยอำนาจกรรมอันเป็นคุณ.(อ.มหากรุณาสมาปัตติญาณุทเทส) 68/160/768/160/7 68/111/4 |
90 | พระพุทธะ พระองค์ใด ทรงรู้ธรรมทั้งปวงมีประเภทแห่งคลองอันจะพึงแนะนำ5 ประการ คือ สังขาร วิการ ลักขณะ นิพพาน และบัญญัติ ฉะนั้น พระพุทธะพระองค์นั้น ชื่อว่า สัพพัญญู (รู้ธรรมทั้งปวง) (อรรถกถา ๗๒-๗๓) 68/161/868/161/8 68/112/5 |
91 | สัพพัญญู มี 5 อย่าง (อรรถกถา ๗๒-๗๓) 68/162/168/162/1 68/112/13 |
92 | อารมณ์เป็นเครื่องกั้นญาณนั้นไม่มี เป็นญาณที่เนื่องด้วย อาวัชชนะนั่นเอง ฉะนั้นญาณนั้นจึง ชื่อว่า อนาวรณะ (ไม่มีการติดขัด) (อรรถกถา ๗๒-๗๓) 68/163/868/163/8 68/113/14 |
93 | [๑] ปัญญาในการทรงจำธรรมที่ได้ฟังมาแล้ว เป็นสุตมยญาณอย่างไร ?.(สุตมยญาณนิทเทส) 68/165/368/165/3 68/115/4 |
94 | คำถาม มี 5 อย่าง คือ ถามเพื่อจะส่องความที่ยังไม่เห็น , เพื่อจะเทียบเคียงสิ่งที่เห็นแล้ว , เพื่อจะตัดความสงสัย , เพื่อจะสอบสวนความรู้ , เพื่อจะตอบเอง.(อ.วิสัชนุทเทส) 68/166/1168/166/11 68/116/10 |
95 | ธรรมใด ย่อมชำแรก ย่อมทำลายกองโลภะ โทสะ โมหะ ซึ่งยังไม่เคยชำแรกไม่เคยทำลาย ฉะนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า นิพเพธะ ผู้ทำลาย คือ อริยมรรค.(อ.วิสัชนุทเทส) 68/170/1368/170/13 68/119/4 |
96 | สังขารทั้งปวงได้แก่ธรรมอันเป็นไปด้วยปัจจัยทั้งปวง ก็ธรรมเหล่านั้น ชื่อว่า สังขตธรรม (อ.วิสัชนุทเทส) 68/171/168/171/1 68/119/10 |
97 | ทุกข์เป็นของทำให้ลำบาก นอกจากทุกข์ไม่มีสิ่งใดทำให้ลำบาก สิ่งนี้จึงเรียกว่าสัจจะ (อ.วิสัชนุทเทส) 68/175/268/175/2 68/121/19 |
98 | อสัญญสัตตาพรหม มีฌานเป็นอาหาร (อ.เอกนิทเทส) 68/179/1468/179/14 68/133/1 |
99 | ผู้ได้ฌาน 4 แล้ว เห็นว่า จิตนี้เป็นของน่าติเตียน มีฌานไม่เสื่อมตายแล้วด้วยอิริยาบถใด ก็ย่อมเกิดในอสัญญีภพ ด้วยอิริยาบทนั้นสถิตอยู่ตลอด 500 กัป 68/181/368/181/3 68/133/23 |
100 | สัตว์นรก มีกรรมเป็นอาหาร (อ.ทุกนิทเทส) 68/182/568/182/5 68/134/13 |
101 | เทศนาของพระพุทธเจ้ามี 4 อย่าง (อ.ทุกนิทเทส) 68/183/368/183/3 68/135/7 |
102 | ธาตุ 2 ได้แก่ สังขตธาตุ อสังขตธาตุ (อ.ทุกนิทเทส) 68/185/568/185/5 68/136/13 |
103 | ธาตุ 3 ได้แก่ กามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ (อ.ทุกนิทเทส) 68/185/1268/185/12 68/137/2 |
104 | ธรรมแม้ทั้งหมด เรียกว่า ธาตุ เพราะอรรถว่า ไม่ใช่ชีวะ (อ.ทุกนิทเทส) 68/188/268/188/2 68/138/16 |
105 | วิมุตตายตนะ เหตุแห่งการพ้น 5 ประการ มีการสดับธรรมเทศนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโยชน์ เกื้อกูลแก่ตน เป็นต้น (อ.ปัญจกนิทเทส) 68/188/1268/188/12 68/139/7 |
106 | อนุตริยะ 6 เป็นธรรมชาติอันประเสริฐ คุณอันยิ่งกว่าธรรมชาติเหล่านั้น ไม่มี. (อ.ฉักกนิทเทส) 68/192/1468/192/14 68/141/10 |
107 | นิททสวัตถุ 7 ประการ (อ.สัตตกนิทเทส) 68/201/1168/201/11 68/145/20 |
108 | บุคคลผู้มีญานอันยิ่ง มีญาณแกล้วกล้า คิดว่า เราพึงเข้าฌานในอารมณ์นี้ แล้วครอบงำอารมณ์ เหล่านั้นเสียเข้าสมาบัติ ฌานที่เกิดขึ้นอย่างนี้ ท่านเรียกว่า อภิภายตนะ , มี 8 ประการ (อ.อัฏฐกนิทเทส) 68/203/1068/203/10 68/147/3 |
109 | ชื่อว่า อนุปุพพวิหาระ เพราะเป็นธรรมอันพระโยคีบุคคลพึงเข้าอยู่ตามลำดับมี 9 ลำดับ (อ.นวกนิทเทส) 68/207/968/207/9 68/149/5 |
110 | เหตุทำความเสื่อมลง ชื่อว่า นิชชรวัตถุ มี 10 ประการ คือ มิจฉาทิฏฐิ-มิจฉาวิมุตติ . (อ.ทสกนิทเทส) 68/209/1368/209/13 68/150/18 |
111 | จักษุมี 2 คือ มังสจักษุ ปัญญาจักษุ , ปัญญาจักษุ มี 5 อย่าง คือ พุทธจักษุสมันตจักษุ ญาณจักษุ ทิพยจักษุ ธรรมจักษุ (อ.จักขาทินิทเทส) 68/214/568/214/5 68/153/2 |
112 | ธรรมชาติใด ย่อมแตกสลายไป ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า รูป (อ.จักขาทินิทเทส) 68/215/1868/215/18 68/154/7 |
113 | คำว่า มโน (ใจ) ได้แก่ ภวังคจิตที่เป็นไปกับด้วยการรับอารมณ์ (อ.จักขาทินิทเทส) 68/219/368/219/3 68/156/6 |
114 | ธรรมชาติใด ย่อมตั้งใจในอารมณ์ ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า สัญเจตนา อธิบายว่า ย่อมมุ่งสู่อารมณ์ (ธรรมหมวด ๖) 68/221/1068/221/10 68/157/15 |
115 | วิตก ย่อมตรึกซึ่งอารมณ์ ยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ , วิจาร ย่อมประคองจิตไว้ในอารมณ์พิจารณาเนืองๆ (ธรรมหมวด ๖) 68/221/1468/221/14 68/157/18 |
116 | ธาตุ 6 , ชื่อว่า ธาตุ เพราะความอรรถว่า มิใช่สัตว์ (ธาตุ ๖) 68/222/568/222/5 68/157/23 |
117 | กสิณ 10 (กสิน ๑๐) 68/223/168/223/1 68/158/6 |
118 | อาการ 32 , ไส้ใหญ่ของบุรุษยาว 32 ศอก ของสตรียาว 28 ศอก (อาการ ๓๒) 68/223/1568/223/15 68/158/16 |
119 | ชื่อว่า อายตนะ เพราะอรรถว่า เป็นที่อยู่ เป็นบ่อเกิด เป็นที่ประชุมลง. (อายตนะ ๑๒) 68/230/968/230/9 68/163/1 |
120 | ธรรมใดย่อมทรงไว้ ความทรงไว้ สภาพที่เป็นเหตุตั้งไว้ ชื่อว่า ธาตุ. (ธาตุ ๑๘) 68/232/1368/232/13 68/164/6 |
121 | ธัมมธาตุ ได้แก่ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ สุขุมรูป 16 , และนิพพาน. (ธาตุ ๑๘) 68/234/1068/234/10 68/165/7 |
122 | ชีวิตินทรีย์ มี 2 อย่าง คือ รูปชีวิตินทรีย์ อรูปชีวิตินทรีย์ (อินทรีย์ ๒๒) 68/235/1768/235/17 68/166/5 |
123 | ผู้ใดย่อมปรารถนาซึ่งความสมสู่ ผู้นั้นชื่อว่า อิตถี (หญิง) เพราะตั้งครรภ์ได้ ,นิรยะ(นรก) ท่านเรียก ปุง ผู้ใดถูกบีบคั้นเบียดเบียนอยู่ในนรก ผู้นั้นชื่อว่า ปุริส(ชาย) . (อินทรีย์ ๒๒) 68/236/368/236/3 68/166/9 |
124 | บุคคลย่อมระลึกได้ด้วยธรรมชาตินั้น หรือระลึกเอง ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า สติ.(อินทรีย์ ๒๒) 68/238/968/238/9 68/167/22 |
125 | อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ เป็นชื่อ ของโสดาปัตติมรรค (อินทรีย์ ๒๒) 68/239/968/239/9 68/168/12 |
126 | เอกโวการภพ คือ ภพที่ระคนด้วยขันธ์ เดียว , จตุโวการภพ คือ ภพที่ระคนด้วยนามขันธ์ 4 , ปัญจโวการภพ คือ ภพที่ระคนด้วยขันธ์ 5 (ธาตุ ๓ โดยภพ ๓ โวการ ๓) 68/242/1668/242/16 68/170/18 |
127 | พรหมวิหาร 3 มีเมตตา กรุณา มุทิตา ประกอบด้วยฌาน 3 มีปฐมฌานเป็นต้นส่วนอุเบกขา พรหมวิหาร ประกอบด้วย จตุตถฌาน (ฌาน) 68/244/1268/244/12 68/171/22 |
128 | อรูปฌาน 4 (ฌาน) 68/244/1468/244/14 68/171/24 |
129 | ความหมายของ อวิชชา และอื่นๆ ในปัจจยาการ 12 (ปัจจยาการ ๑๒) 68/247/668/247/6 68/173/9 |
130 | สุขโสมนัส เกิดขึ้นเพราะอาศัยทุกข์ คือ ความยินดีในทุกข์ ความไม่เที่ยงแห่งทุกข์ความแปรปรวน เป็นธรรมดาแห่งทุกข์ คือ โทษแห่งทุกข์ การนำออกซึ่งฉันทราคะการละฉันทราคะในทุกข์ คือ อุบายเครื่องสลัดออกแห่งทุกข์ นิพพานนั้นแล คือ อุบายเครื่องสลัดออกแห่งทุกข์ (อ.สัจนิทเทส) 68/260/968/260/9 68/176/4 |
131 | อนุปัสสนา 7 ประการ มีอนิจจานุปัสสนา เป็นต้น (อ.สัจนิทเทส) 68/261/1868/261/18 68/177/7 |
132 | อาพาธ 8 อย่าง อันตั้งขึ้นเพราะธาตุกำเริบเป็นปัจจัย คือ น้ำดี เสมหะ ลม ไข้สันนิบาตการเปลี่ยนฤดู การบริหารร่างกายไม่สม่ำเสมอ เพียรเกินไป วิบากของกรรม.(อ.สัจนิทเทส) 68/265/768/265/7 68/179/22 |
133 | มรณะนั้นมี 2 อย่าง คือ สังขตลักษณะอันมีความเสื่อมเป็นลักษณะ , การตัดขาดการเกี่ยวเนื่องกันแห่ง ชีวิตินทรีย์อันนับเนื่องในภพหนึ่ง (อ.สัจนิทเทส) 68/265/1368/265/13 68/180/3 |
134 | วิริยะนั้นมี 4 ประเภทโดยให้สำเร็จ คือ ละอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ,อกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึ้น, กุศลธรรมที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น, กุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้ตั้งอยู่ (อ.ทุติยภาณวาร) 68/286/1668/286/16 68/196/3 |
135 | อริยมรรคที่เกิดขึ้นแก่จิตใด ย่อมยังจิตนั้นให้สว่าง คือ ให้รุ่งเรือง ฉะนั้น จึงชื่อว่าปตาปนะ(อริยมรรคให้สว่าง) (อ.ทุติยภาณวาร) 68/296/1568/296/15 68/202/26 |
136 | มหาวิปัสสนา 18 อย่าง (อ.ทุติยภาณวาร) 68/306/368/306/3 68/208/11 |
137 | เมื่อกำหนดรู้ผัสสะแล้ว เป็นอันกำหนดรู้เวทนาด้วย , เมื่อกำหนดรู้เวทนาแล้ว เป็นอันกำหนดรู้ที่ตั้งของตัณหาทั้งหมดได้ (อ.ทุติยภาณวาร) 68/315/1568/315/15 68/214/23 |
138 | ผลวิมุตติ ชื่อว่า เป็นแก่นสาร เพราะความมั่นคงโดยไม่เสื่อม แม้เพราะก้าวล่วงสิ่งนั้นแล้วไม่มีสิ่งอื่นที่พึงแสวงหา (อ.ทุติยภาณวาร) 68/317/868/317/8 68/216/3 |
139 | วิญญาณฐิติ 7 (อ.ตติยภาณวาร) 68/324/268/324/2 68/222/13 |
140 | การรู้ธรรมของวินิปาติกะที่เป็นติเหตุกะ ก็มีได้ เช่น การรู้ธรรมของยักษิณี ชื่อว่าปิยังกรมาตา เป็นต้น (อ.ตติยภาณวาร) 68/326/1568/326/15 68/224/12 |
141 | ลักษณะ ของพวกเทพชั้นพรหม. (อ.ตติยภาณวาร) 68/326/1768/326/17 68/224/14 |
142 | ภพเทพสุทธาวาสย่อมว่างเปล่าเมื่อไม่มีพระพุทธเจ้า มาอุบัติตลอดแสนกัปบ้าง,อสงไขยกัปบ้าง (อ.ตติยภาณวาร) 68/328/1668/328/16 68/226/1 |
143 | ชื่อว่า สัตว์จะพ้นจากโลกธรรม 8 ย่อมไม่มี (อ.ตติยภาณวาร) 68/329/1268/329/12 68/226/13 |
144 | สัตตาวาส 9 เป็นสถานที่อยู่ของสัตว์ทั้งหลาย (อ.ตติยภาณวาร) 68/331/368/331/3 68/227/12 |
145 | [๖๕] ปหานะ 5 คือ สมุจเฉทปหานะอันเป็นโลกุตรมรรค และปฏิปัสสัทธิปหานะ อันเป็นโลกุตรผล นิสสรณปหานะ เป็นนิโรธ คือ นิพพาน (ปหาตัพพนิทเทส) 68/338/168/338/1 68/231/9 |
146 | ตัณหา 3 ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา (อ.ปหาตัพพนิทเทส) 68/340/1568/340/15 68/233/5 |
147 | ชื่อว่า โอฆะ เพราะยังสัตว์ให้จมลงในวัฏฏะ (อ.ปหาตัพพนิทเทส) 68/341/1868/341/18 68/234/4 |
148 | ความหมาย ของนิวรณ์ทั้ง 5 (อ.ปหาตัพพนิทเทส) 68/342/968/342/9 68/234/12 |
149 | ชื่อว่า อนุสัย เพราะนอนเนื่องโดยอรรถว่าละไม่ได้ มี 7 ประการ (อ.ปหาตัพพนิทเทส) 68/344/168/344/1 68/235/14 |
150 | ธรรมมีตัณหาเป็นมูล 9 อย่าง มีการแสวงหา เป็นต้น เป็นอกุศลทั้งนั้น.(อ.ปหาตัพพนิทเทส) 68/345/1668/345/16 68/236/22 |
151 | [๖๙-๗๑] ภาวนา 4 คือ เอสนาภาวนา ปฏิลาภภาวนา เอกรสาภาวนา อาเสวนาภาวนา (จตุตถภาณวาร-ภาเวตัพพนิทเทส) 68/357/668/357/6 68/245/1 |
152 | สมาธิมีองค์ 5 ได้แก่ สมาธิในจตุตถฌาน. องค์ 5 คือ ปีติซาบซ่าน ความสุข-ซาบซ่าน จิตซาบซ่าน แสงสว่างแผ่ซ่าน การพิจารณาเป็นนิมิต.(อ.ภาเวตัพพนิทเทส) 68/369/1768/369/17 68/254/9 |
153 | สตินั่นแล เพราะเกิดขึ้นบ่อยๆ จึงเรียกว่า อนุสติ (อ.ภาเวตัพพนิทเทส) 68/370/1968/370/19 68/255/6 |
154 | วิปัสสนูปกิเลส 10 มีโอภาส เป็นต้น (อ.ภาเวตัพพนิทเทส) 68/374/168/374/1 68/257/12 |
155 | วิปัสสนา 9 มี ปรีชาคำนึงเห็น ทั้งความเกิดทั้งความดับ เป็นต้น (อ.ภาเวตัพพนิทเทส) 68/374/1768/374/17 68/257/21 |
156 | [๗๘] ปัญญาเครื่องทรงจำธรรมที่ได้สดับมาแล้ว คือ รู้ชัดว่า ธรรมเหล่านี้ เป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ธรรมเหล่านี้ เป็นไปในส่วนแห่งความตั้งอยู่ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนชำแรกกิเลส ชื่อว่า สุตมยญาณ(สัจฉิกาตัพพนิทเทส) 68/392/1268/392/12 68/271/2 |
157 | กำลังของพระขีณาสพ 7 ประการ (อ.สัจฉิกาตัพพนิทเทส) 68/398/1268/398/12 68/275/16 |
158 | อนุปุพพนิโรธ การดับตามลำดับ 9 อย่าง (อ.สัจฉิกาตัพพนิทเทส) 68/401/668/401/6 68/277/11 |
159 | พระโยคาวจร เมื่อเสื่อมจากฌาน ชื่อว่า เสื่อมด้วยเหตุ 3 ประการ คือ ด้วยกิเลสกำเริบ(เสื่อมเร็ว), ด้วยการทำอันไม่เป็นที่สบาย, ด้วยการไม่ประกอบความเพียร..(อ.สัจฉิกาตัพพนิทเทส) 68/404/1468/404/14 68/280/6 |
160 | สมาธิอันเป็นโลกิยะ นี้แม้ทั้งหมด เป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อมแก่พระโยคีผู้มีอินทรีย์อย่างอ่อน มีปกติอยู่ด้วยความประมาท (อ.สัจฉิกาตัพพนิทเทส) 68/407/1368/407/13 68/282/6 |
161 | [๗๙] ปัญญาเครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้วว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขาร ทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ชื่อว่า สุตมยญาณ (ลักขณัตติกนิทเทส) 68/408/268/408/2 68/282/17 |
162 | ชื่อว่า อนัตตา เพราะไม่มีแก่นสารในตนที่กำหนดไว้อย่างนี้ว่า ตัวตน ผู้อยู่อาศัยผู้กระทำ ผู้รู้ ผู้มีอำนาจเองเพราะว่าสิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ , สิ่งนั้นไม่สามารถจะดำรงความไม่เที่ยงแม้ของตน หรือ ความเกิด ความเสื่อมและความบีบคั้นไว้ได้.(อ.ลักขณัตติกนิทเทส) 68/409/1368/409/13 68/283/19 |
163 | [๘๐-๘๒] ความหมายในทุกขอริยสัจ มีชาติ เป็นต้น (ทุกขสัจนิทเทส) 68/410/1168/410/11 68/284/11 |
164 | ทุกข์ ในท้องแม่ (อ.ทุกขสัจนิทเทส) 68/418/368/418/3 68/292/15 |
165 | สัตว์เมื่ออยู่ในครรภ์มารดา ก็เหมือนอยู่ในคูถนรก (อ.ทุกขสัจนิทเทส) 68/421/168/421/1 68/294/20 |
166 | เพราะจิตได้รับการบีบคั้น และนำความบีบคั้นแก่กายอีกด้วย ฉะนั้นท่านจึงกล่าวโทมนัส ว่าเป็นทุกข์เพราะความเสียใจ (อ.ทุกขสัจนิทเทส) 68/425/1568/425/15 68/297/24 |
167 | ทุกข์ครั้งแรกย่อมเกิดในจิต เพราะเห็นและสังขารอันไม่เป็นที่รัก (อ.ทุกขสัจนิทเทส) 68/426/1568/426/15 68/298/17 |
168 | ฟันเปลี่ยนสี ผมเปลี่ยนสี ก็ชื่อว่า ชรา (อ.ทุกขสัจนิทเทส) 68/435/868/435/8 68/304/5 |
169 | ชื่อว่า สาโลหิต เพราะอรรถว่า เกี่ยวเนื่องกันทางสายเลือด (อ.ทุกขสัจนิทเทส) 68/445/768/445/7 68/311/14 |
170 | [๘๓] ตัณหาอันให้เกิดในภพใหม่ ประกอบด้วยนันทิราคะอันเพลิดเพลินใน อารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา , สิ่งใดเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ตัณหานั้นเมื่อเกิดย่อมเกิดในสิ่งนั้น เมื่อตั้งอยู่ก็ตั้งอยู่ในสิ่งนั้น นี้ท่านกล่าวว่า ทุกขสมุทัยอริยสัจ (สมุทยสัจนิทเทส) 68/447/668/447/6 68/287/12 |
171 | สัตว์ทั้งหลายยึดมั่นโดยความเป็นของเรา ในจักษุ เป็นต้น ในโลก สำคัญอยู่อย่างนี้ จักษุเป็นต้นเหล่านั้น ย่อมเป็นปิยรูป และสาตรูป (ที่รักที่ยินดี) ตัณหาที่ยังไม่เกิดในปิยรูปและสาตรูปนั้น ย่อมเกิดแก่สัตว์เหล่านั้น และที่เกิดแล้วย่อมตั้งอยู่ ด้วยการเป็นไปบ่อยๆ (อ.สมุทยสัจนิทเทส) 68/450/668/450/6 68/314/9 |
172 | [๘๔] การดับตัณหานั้นด้วยความคลายกำหนัดโดยไม่เหลือ ความสละ ความสละคืน ความหลุดพ้น ความไม่อาลัย, สิ่งใดเป็นที่รักที่ยินดีในโลก ตัณหานี้เมื่อละก็ละได้ในสิ่งนั้น เมื่อดับก็ดับได้ในสิ่งนั้น นี้ท่านกล่าวว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ.(นิโรธสัจนิทเทส) 68/451/1068/451/10 68/288/3 |
173 | " เมื่อยังถอนตัณหานุสัยไม่ได้ ทุกข์นี้ย่อมเกิดบ่อยๆ เหมือนเมื่อรากไม้ยังแข็ง-แรง ไม่มีอันตราย ต้นไม้แม้ตัดแล้ว ก็ยังงอกอีกได้" (อ.นิโรธสัจนิทเทส) 68/452/1168/452/11 68/315/9 |
174 | นิพพานเป็นอย่างเดียวเท่านั้น แต่ชื่อของนิพพานนั้นมีอยู่ไม่น้อย ด้วยสามารถเป็นปฏิปักษ์ต่อชื่อ ของสังขตธรรมทั้งปวง เช่น อเสสวิราโค (คลายกำหนัดโดยไม่มีเหลือ) (อ.นิโรธสัจนิทเทส) 68/454/1468/454/14 68/316/23 |
175 | [๘๕] อริยมรรคมีองค์ 8 (มัคคสัจนิทเทส) 68/457/1168/457/11 68/288/12 |
176 | ลักษณะของมรรคทั้ง 8 (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/460/1568/460/15 68/319/11 |
177 | สัมมาทิฏฐินี้ ในส่วนเบื้องต้น มีขณะต่างกัน มีอารมณ์ต่างกัน , ในกาลแห่งมรรคมีขณะอย่างเดียวกัน มีอารมณ์อย่างเดียวกัน ส่วนสัมมาสมาธิ แม้ในส่วนเบื้อง-ต้น แม้ในขณะแห่งมรรค ก็เป็นสมาธิเท่านั้น (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/461/1468/461/14 68/320/2 |
178 | ในธรรม 8 อย่าง เหล่านี้ พระพุทธเจ้าทรงแสดงสัมมาทิฏฐิไว้ก่อน เพราะเป็นธรรมมีอุปการะมากแก่ผู้ปฏิบัติเพื่อถึงนิพพาน (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/462/768/462/7 68/320/14 |
179 | สัมมาสังกัปปะมีอุปการะมากแก่สัมมาทิฏฐิ เปรียบเหมือน เหรัญญิกใช้มือพลิกดูกหาปณะด้วยตาก็ย่อมรู้ว่านี้ปลอมนี้ไม่ปลอม แม้พระโยคาวจรก็ฉันนั้น ในส่วนเบื้องต้นตรึกแล้วตรึกเล่าด้วย วิตก มองดูด้วยวิปัสสนาปัญญา ย่อมรู้ว่าธรรมเหล่านี้เป็นกามาวจร เหล่านี้เป็นรูปาวจร เป็นต้น (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/462/1468/462/14 68/320/22 |
180 | ย่อมแทงตลอดสัจจะ 4 โดยการแทงตลอดครั้งเดียว ย่อมตรัสรู้โดยการตรัสรู้ครั้งเดียว (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/465/868/465/8 68/322/18 |
181 | ญาณในสัจจะทั้งหลายมี 4 อย่าง คือ ญาณเกิดจากการฟัง ญาณเกิดจากการกำหนด ญาณเกิดจากการพิจารณา ญาณเกิดจากการตรัสรู้ (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/467/368/467/3 68/324/2 |
182 | ความดำริที่เป็นกุศลอย่างเดียวเท่านั้น ยังองค์มรรคให้บริบูรณ์ เพราะตัดเหตุแห่งความดำริที่เป็นอกุศลในขณะแห่งมรรคเกิดขึ้น นี้ชื่อว่า สัมมาสังกัปปะ.(อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/470/568/470/5 68/326/11 |
183 | กิเลสทั้งหลายย่อมไม่ปรากฏ ด้วยสามารถ วัตร คันถะ(การศึกษาเล่าเรียน) ธุดงค์สมาธิ วิปัสสนานวกรรม และภพ อย่างใดอย่างหนึ่งแก่ภิกษุบางรูป . (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/474/868/474/8 68/329/12 |
184 | มรรคเกิดครั้งเดียว แล้วดับ จะไม่เป็นไปเพื่อความฉิบหายเลย เพราะมรรคนั้นให้ปัจจัยแก่ผลแล้ว ก็ดับไป (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/477/1568/477/15 68/332/2 |
185 | ธรรมที่เกิดขึ้นมี 4 อย่าง คือ เกิดขึ้นกำลังเป็นไป เกิดขึ้นเสพอารมณ์แล้วดับไปเกิดขึ้นทำโอกาส เกิดขึ้นในภูมิที่ได้ (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/478/468/478/4 68/332/12 |
186 | " ภิกษุใดได้เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์ ได้เห็นทุกข์โดยความเป็นดังลูกศร ได้เห็นอทุกขมสุขอันสงบระงับแล้วนั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง ภิกษุนั้นแลเป็นผู้เห็นชอบ ย่อมรู้รอบเวทนาทั้งหลาย" (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/492/1368/492/13 68/342/20 |
187 | ภิกษุย่อมกำหนดกายด้วยจิตอื่น กำหนดเวทนาด้วยจิตอื่น กำหนดจิตด้วยจิตอื่นกำหนดธรรมทั้งหลายด้วยจิตอื่น แต่ในขณะโลกุตรมรรค สติปัฏฐานย่อมได้ในจิตดวงเดียวเท่านั้น (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/494/668/494/6 68/343/19 |
188 | สมาธิเป็นปฏิปักษ์ต่อกามฉันทะ , ปีติเป็นปฏิปักษ์ต่อพยาบาท , วิตกเป็นปฏิปักษ์ต่อถีนมิทธะ , สุขเป็นปฏิปักษ์ต่ออุทธัจจกุกกุจจะ , วิจารเป็นปฏิปักษ์ต่อวิจิกิจฉา.(อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/499/368/499/3 68/347/8 |
189 | วิตก มีลักษณะยกจิตไว้ในอารมณ์ , วิจาร มีลักษณะคลุกเคล้าอารมณ์.(อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/500/1068/500/10 68/348/7 |
190 | ปีติ 5 อย่าง คือ ปีติอย่างน้อย ปีติชั่วขณะ ปีติเป็นพักๆ ปีติโลดโผน ปีติซาบซ่าน.(อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/502/368/502/3 68/349/12 |
191 | ปีติ สงเคราะห์ในสังขารขันธ์ สุขสงเคราะห์ในเวทนาขันธ์ (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/503/1568/503/15 68/350/11 |
192 | ฌานมี 2 อย่าง เพ่งอารมณ์ เพ่งลักษณะ (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/504/1168/504/11 68/350/25 |
193 | อุเบกขามี 10 อย่าง (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/510/1568/510/15 68/355/12 |
194 | ความวิเศษแห่งมรรคนั้นย่อมมีโดยกำหนดฌานเป็นบาท (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/525/668/525/6 68/365/1 |
195 | อนึ่งพึงทราบสัจจะเหล่านี้ ทั้งหมดโดยปรมัตถ์ว่า สูญ เพราะไม่มีผู้เสวย ผู้ทำผู้ดับ และผู้ไป (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/534/968/534/9 68/371/6 |
196 | สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สงเคราะห์เข้าศีลขันธ์ , สัมมาวายาโมสัมมาสติ สัมมาสมาธิ สงเคราะห์เข้าสมาธิขันธ์ , สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะสงเคราะห์เข้า ปัญญาขันธ์ (อ.มัคคสัจนิทเทส) 68/539/768/539/7 68/374/3 |
197 | [๘๖] ศีล 5 ประเภท คือ ความบริสุทธิ์มีส่วนสุด ความบริสุทธิ์ไม่มีส่วนสุด ความบริสุทธิ์เต็มรอบ ความบริสุทธิ์อันทิฏฐิไม่จับต้อง ความบริสุทธิ์โดยระงับ..(สีลมยญาณนิทเทส) 68/541/468/541/4 68/375/8 |
198 | [๘๗] ศีลมีที่สุด เพราะลาภ ยศ อวัยวะ ชีวิต ศีลนี้เป็นปริยันตศีล .(สีลมยญาณนิทเทส) 68/542/568/542/5 68/376/5 |
199 | [๘๘] ศีลไม่มีที่สุด เพราะ ลาภ ยศ อวัยวะ ชีวิต ศีลนี้เป็นอปริยันตศีล.(สีลมยญาณนิทเทส) 68/543/968/543/9 68/377/3 |
200 | [๘๙] เจตนาเป็น ศีล เจตสิกเป็นศีล ความสำรวมเป็นศีล ความไม่ล่วงเป็นศีล .(สีลมยญาณนิทเทส) 68/544/1668/544/16 68/378/3 |
201 | [๙๐] ความสำรวม เป็นอธิศีล ความไม่ฟุ้งซ่านเป็นอธิจิต ความเห็นแจ้งเป็นอธิปัญญา (สีลมยญาณนิทเทส) 68/547/468/547/4 68/379/14 |
202 | [๙๑] ชื่อว่า ญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้นๆ ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่ารู้ชัดเพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในการฟังธรรมแล้วสำรวมไว้เป็นสีลมย-ญาณ (สีลมยญาณนิทเทส) 68/548/1868/548/18 68/380/26 |
203 | อุบาสก อุบาสิกา มีสิกขาบท 1, 2, 3, 4, 5, 8, หรือ 10 ตามที่สมาทาน , สิกขมานา สามเณร สามเณรี มีสิกขาบท 10 นี้ชื่อว่า มีสิกขาบทเป็นที่สุด.(อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/551/668/551/6 68/382/17 |
204 | พระพุทธเจ้าประกาศสังวรวินัยไว้ 9,800 โกฏิ และ ห้าล้านสามสิบหกโกฏิ กับอื่นๆอีก (อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/552/368/552/3 68/383/1 |
205 | พระพุทธเจ้าตรัสถึงปุถุชนไว้ 2 ประเภท คือ ปุถุชนคนโง่เขลา และปุถุชนคนดี.(อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/553/868/553/8 68/383/19 |
206 | ชื่อว่า กุศล เพราะอรรถว่าทำลาย กำจัดธรรมอันลามก เกิดเพราะความเป็นผู้ฉลาด (อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/555/168/555/1 68/384/17 |
207 | พระพุทธเจ้าทรงพระนามว่า ตถาคตด้วยเหตุ 8 ประการ (อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/558/668/558/6 68/387/2 |
208 | เหตุที่พระตถาคต ทรงพระนามว่า อรหันต์ (อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/574/1368/574/13 68/396/20 |
209 | ชื่อว่า สัมมาสัมพุทโธ เพราะตรัสรู้ธรรมทั้งปวงโดยชอบและด้วยพระองค์เอง.(อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/579/1668/579/16 68/398/26 |
210 | ศีลแม้ทั้งหมด ชื่อว่า ขาด ทะลุ ด่าง พร้อย เพราะการประกอบพร้อมด้วยเมถุน7 อย่าง และเพราะถูกธรรมลามกมีโกรธ และผูกโกรธไว้ เป็นต้น ทำลายเสีย..(อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/583/668/583/6 68/401/18 |
211 | ศีลมิใช่ขาดไปด้วยเพียงความคิด (อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/586/968/586/9 68/403/25 |
212 | อกุศลกรรมบถ 10 ประการ (อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/591/968/591/9 68/407/15 |
213 | การเว้นสัมปยุตด้วยกุศลจิตของผู้เว้นจากปาณาติบาต เป็นต้น (วิรัติ) มี 3 อย่างสัมปัตตวิรัติ สมาทานวิรัติ สมุจเฉทวิรัติ (อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/603/1468/603/14 68/416/5 |
214 | ดูก่อนอานนท์ ศีลมีความไม่เดือดร้อนเป็นประโยชน์ มีความไม่เดือดร้อนเป็นอานิสงส์ (อ.สีลมยญาณนิทเทส) 68/608/568/608/5 68/419/8 |
215 | [๙๒] สมาธิอย่างหนึ่งถึงสมาธิ 10 สมาธิเหล่านี้รวมเป็น 55.(สมาธิภาวนามยญาณนิทเทส) 68/615/268/615/2 68/424/2 |
216 | [๙๓] สภาพในความเป็นสมาธิแห่งสมาธิ 25 ประการ (สมาธิภาวนามยญาณนิทเทส) 68/616/668/616/6 68/425/1 |
217 | ความเป็นผู้ฉลาดในการทำความคล่องแคล่วแห่งสมาธิด้วยการฝึกจิต โดยอาการ 14 อย่าง (อ.สมาธิภาวนามยญาณนิทเทส) 68/623/568/623/5 68/430/2 |
218 | รูปพรหมมี 16 ชั้น (อ.สมาธิภาวนามยญาณนิทเทส) 68/626/1068/626/10 68/432/6 |
219 | [๙๔] ปัญญาในการกำหนดปัจจัย เป็นธรรมฐิติญาณ (ธรรมฐิติญาณนิทเทส) 68/637/568/637/5 68/439/2 |
220 | [๙๘] ปฏิจจสมุปบาท มีสังเขป 4 กาล 3 ปฏิสนธิ 3 ด้วยอาการ 20.(ธรรมฐิติญาณนิทเทส) 68/642/968/642/9 68/442/21 |
221 | ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ประภัสสร ก็จิตนั้นแลเศร้าหมองด้วยอุปกิเลสที่จรมา.(อ.ธรรมฐิติญาณนิทเทส) 68/649/668/649/6 68/447/19 |
222 | พระตถาคตทรงอุบัติก็ตาม ยังไม่อุบัติก็ตาม ธาตุนั้นเป็นธรรมฐิติ (ยังตั้งอยู่โดยธรรมดา) เป็นธรรมนิยาม (ความแน่นอนอยู่โดยธรรมดา) เป็นอิทัปปัจจยตา(ความอาศัยกันเกิดขึ้นยังคงมีอยู่) พระตถาคตตรัสรู้บรรลุธรรมนั้น..(อ.ธรรมฐิติญาณนิทเทส) 68/654/568/654/5 68/450/25 |
223 | [๙๙] ปัญญาในการย่อธรรมทั้งหลาย ทั้งอดีต อนาคต ปัจจุบันแล้วกำหนดไว้เป็นสัมมสนญาณ (สัมมสนญาณนิทเทส) 68/657/1568/657/15 68/453/2 |
224 | รูป 12 อย่าง มีจักขุ เป็นต้น ชื่อว่า หยาบ เพราะควรถือเอาด้วยสามารถการสืบต่อกัน , ส่วนรูปที่เหลือ 16 อย่าง มีอาโปธาตุ เป็นต้น ชื่อว่า สุขุม เพราะไม่ควรถือเอาด้วยสามารถการสืบต่อ (อ.สัมมสนญาณนิทเทส) 68/663/168/663/1 68/456/22 |
225 | [๑๐๓] ปัญญาในการพิจารณาเห็นความแปรปรวนแห่งธรรมทั้งหลายที่เป็นปัจจุบัน เป็นอุทยัพพยานุปัสนาญาณ (อุทยัพพยญาณนิทเทส) 68/676/868/676/8 68/467/2 |
226 | [๑๐๖] เมื่อพิจารณาเห็นความเกิดขึ้นแห่งรูปขันธ์ โดยความเกิดขึ้นแห่งปัจจัยว่าเพราะอวิชชา , เพราะตัณหา , เพราะกรรม , เพราะอาหารเกิดรูปจึงเกิด , แม้พิจารณาเห็นลักษณะแห่งความเกิด ก็ย่อมพิจารณาเห็นความเกิดขึ้นแห่งรูปขันธ์.(อุทยัพพยญาณนิทเทส) 68/678/1068/678/10 68/468/14 |
227 | [๑๑๑] รูปขันธ์เกิดเพราะอาหารเกิด , เวทนา สัญญา สังขารเกิดเพราะผัสสะเกิดวิญญาณขันธ์เกิดเพราะนามรูปเกิด (อุทยัพพยญาณนิทเทส) 68/681/1668/681/16 68/470/25 |
228 | ผู้เจริญวิปัสสนาโดยใส่ใจถึงความเกิด และความเสื่อมแห่งขันธ์ทั้งหลายในปัจจุบัน.(อ.อุทยัพพยญาณนิทเทส) 68/687/368/687/3 68/474/15 |
229 | วิปัสสนูปกิเลส 10 มีโอภาส เป็นต้น ย่อมเกิดแก่พระโยคาวจรผู้ตั้งอยู่ในอุทยัพ-พยญาณ นี้ (อ.อุทยัพพยญาณนิทเทส) 68/691/568/691/5 68/477/10 |
230 | [๑๑๒-๑๑๓] เมื่อจิตมีรูปเป็น อารมณ์ เกิดขึ้นแล้วย่อมแตกไป พึงพิจารณาเห็นโดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา (ภังคานุปัสสนาญาณนิทเทส) 68/692/1368/692/13 68/478/13 |
231 | [๑๑๔] การที่พระโยคาวจรพิจารณาอารมณ์แล้ว พิจารณาเห็นความแตกไปแห่งจิต และความปรากฏ โดยความเป็นของสูญ ชื่อว่าอธิปัญญาวิปัสสนา .(ภังคานุปัสสนาญาณนิทเทส) 68/694/168/694/1 68/479/18 |
232 | เพราะน้อมไปสู่นิโรธ ญาณและความเกิดตั้งสติไว้ในความดับ ภังคานุปัสสนา-ญาณย่อมเกิดขึ้นในที่นี้. (อ.ภังคานุปัสสนาญาณนิทเทส) 68/695/168/695/1 68/480/11 |
233 | ขันธ์ทั้งหลายย่อมดับ ไม่มีอะไรๆ อื่น คือ ไม่มีสัตว์บุคคล ความแตกแห่งขันธ์ท่านเรียกว่า มรณะ (อ.ภังคานุปัสสนาญาณนิทเทส) 68/700/1468/700/14 68/484/4 |
234 | ภังคานุปัสสนาญาณมีอานิสงส์ 8 ประการ พึงพิจารณาสังขารด้วย ภังคานุปัสสนาบ่อยๆ เหมือนบุคคลมีผ้าโพกศีรษะอันไฟกำลังลุกไหม้ ฉะนั้น .(อ.ภังคานุปัสสนาญาณนิทเทส) 68/702/968/702/9 68/485/6 |
235 | [๑๑๕-๑๑๙] ข้อที่พระโยคาวจรพิจารณาเห็นความเกิดขึ้น ความเป็นไปแห่ง สังสารนิมิต กรรมเครื่องประมวลมาปฏิสนธิว่า เป็นทุกข์ นี้เป็น อาทีนวญาณ.(อาทีนวญาณนิทเทส) 68/705/1668/705/16 68/487/11 |
236 | อาทีนวญาณ ย่อมเกิดขึ้นในฐานะ 5 คือ ความเกิด, ความเป็นไป, เครื่องหมาย,กรรมเป็นเหตุให้ ถือปฏิสนธิ , และการเกิดเป็นทุกข์.(อ.อาทีนวญาณนิทเทส) 68/708/868/708/8 68/489/11 |
237 | [๑๒๐-๑๒๓] ปัญญาเครื่องความเป็นผู้ใคร่จะพ้นไปเสีย ทั้งพิจารณาหาทางและ วางเฉยอยู่ เป็นสังขารุเปกขาญาณ (สังขารุเปกขาญาณนิทเทส) 68/711/1668/711/16 68/492/2 |
238 | [๑๒๔-๑๒๕] การน้อมจิตไปในสังขารุเปกขา ย่อมมีได้ด้วยอาการ 8 คือ ของปุถุชนมีด้วยอาการ 2 ของพระเสขะมีด้วยอาการ 3 ของผู้ปราศจากราคะ มีด้วยอาการ 3 (สังขารุเปกขาญาณนิทเทส) 68/713/1468/713/14 68/493/8 |
239 | [๑๒๖] การน้อมจิตไปในสังขารุเปกขาของปุถุชน และ ของพระเสขะ เป็นอย่างเดียวกัน โดยสภาพ แห่งความยินดี (สังขารุเปกขาญาณนิทเทส) 68/715/168/715/1 68/494/8 |
240 | [๑๓๓] สังขารุเปกขา 8 ย่อมเกิดขึ้นด้วยอำนาจสมถะ (สังขารุเปกขาญาณนิทเทส) 68/718/768/718/7 68/496/18 |
241 | [๑๓๔] สังขารุเปกขา 10 ย่อมเกิดขึ้น ด้วยอำนาจ วิปัสสนา (สังขารุเปกขาญาณนิทเทส) 68/719/468/719/4 68/497/6 |
242 | [๑๓๕] สังขารุเปกขา เป็นกุศล 15 เป็นอัพยากฤต 3 เป็นอกุศล ไม่มี.(สังขารุเปกขาญาณนิทเทส) 68/720/368/720/3 68/497/22 |
243 | เมื่อพระโยคาวจรนั้น เริ่มเจริญวิปัสสนา ละความขวนขวายในการค้นหาลักษณะเพราะเห็นไตรลักษณ์ด้วยวิปัสสนาญาณแล้ว เห็นภพ 3 ดุจไฟติดทั่วแล้ว มีความเป็นกลางในการถือ สังขารวิปัสสนาญาณนั้น ย่อมเห็นสังขารเหล่านั้นโดยพิเศษและ เห็นคือ มองดูญาณที่เว้นแล้วด้วยการถือเอา จึงชื่อว่า สังขารุเปกขาญาณ.(อ.สังขารุเปกขาญาณนิทเทส) 68/721/1468/721/14 68/498/21 |
244 | ปุถุชนที่ไม่มีการเรียน การสอบถาม การฟัง การจำ และการพิจารณา เป็นต้นในขันธ์ ธาตุ อายตนะ เป็นต้น เรียกว่า อันธปุถุชน (อ.สังขารุเปกขาญาณนิทเทส) 68/723/668/723/6 68/500/1 |
245 | ผลสมาบัติ คือ อะไร , ใครเข้าสมาบัตินั้น , ใครไม่เข้าสมาบัติ ?.(อ.สังขารุเปกขาญาณนิทเทส) 68/726/968/726/9 68/501/23 |
246 | [๑๓๖-๑๓๗] ปัญญาในการออก และหลีกไปจากสังขารนิมิตภายนอก เป็นโคตรภูญาณ (โคตรภูญาณนิทเทส) 68/743/268/743/2 68/513/7 |
247 | [๑๓๙] โคตรภูธรรม 8 ย่อมเกิดขึ้นด้วยอำนาจสมถะ (โคตรภูญาณนิทเทส) 68/744/1568/744/15 68/514/16 |
248 | [๑๔๐] โคตรภูธรรม 10 ย่อมเกิดขึ้นด้วยอำนาจ วิปัสสนา (โคตรภูญาณนิทเทส) 68/745/668/745/6 68/514/26 |
249 | [๑๔๑-๑๔๒] โคตรภูธรรม เป็นกุศล 15 เป็นอัพยากฤต 3 เป็นอกุศลไม่มี 68/746/368/746/3 68/515/16 |
250 | อธิบายคำว่า โคตรภู (อ.โคตรภูญาณนิทเทส) 68/747/968/747/9 68/516/12 |
251 | [๑๔๓] ปัญญาในการออกไป และหลีกไปจากกิเลส ขันธ์ และสังขารนิมิตภาย-นอกทั้งสอง เป็นมรรคญาณ. (มรรคญาณนิทเทส) 68/752/268/752/2 68/519/18 |
252 | [๑๔๕] ในขณะแห่งอนาคามิมรรค ย่อมออกจาก กามราคสังโยชน์ ปฏิฆสังโยชน์.(มรรคญาณนิทเทส) 68/753/1368/753/13 68/520/24 |
253 | [๑๔๖] ในขณะแห่งอรหัตมรรค ย่อมออกจาก รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา มานานุสัย ภวราคานุสัย อวิชชานุสัย (มรรคญาณนิทเทส) 68/754/168/754/1 68/521/5 |
254 | ชื่อว่า ฌาน มี 2 อย่าง คือ เพ่งอารมณ์ เพ่งลักษณะ (อ.มรรคญาณนิทเทส) 68/761/1768/761/17 68/526/21 |
255 | เมื่อสมถะ และวิปัสสนาเป็นธรรมคู่กัน ความปรากฏแห่งอริยมรรคย่อมมี.(อ.มรรคญาณนิทเทส) 68/763/268/763/2 68/527/19 |
256 | โสดาปัตติมรรคนั้นท่านกล่าวว่า ทัสสนะ เพราะเห็นนิพพานก่อน ส่วนโคตรภูญาณย่อมเห็นนิพพานก่อนกว่าก็จริง แต่ท่านไม่ เรียกว่า เห็น เพราะไม่มีการละกิเลส.(อ.มรรคญาณนิทเทส) 68/765/468/765/4 68/529/5 |
257 | [๑๔๘-๑๕๑] ปัญญาในการระงับปโยคะ เป็นผลญาณ (ผลญาณนิทเทส) 68/766/568/766/5 68/530/2 |
258 | [๑๕๒] อุปกิเลสแห่งจิตของตน คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาสทิฏฐานุสัย วิจิกิจฉานุสัย เป็นกิเลสอันโสดาปัตติมรรคตัดขาดดีแล้ว.(วิมุตติญาณนิทเทส) 68/769/1268/769/12 68/532/15 |
259 | ชื่อว่า สีลัพพตปรามาส เพราะอรรถว่า เป็นผู้ถือมั่นว่า ความหมดจดมีด้วยศีลด้วยพรต (อ.วิมุตติญาณนิทเทส) 68/770/968/770/9 68/534/9 |
260 | [๑๕๖-๑๕๙] ปัญญาในการพิจารณาเห็นธรรมที่เข้ามาประชุมในขณะนั้นเป็นปัจจเวกขณญาณ (ปัจจเวกขณญาณนิทเทส) 68/773/568/773/5 68/535/13 |
261 | [๑๖๐-๑๖๒] ปัญญาในการกำหนดธรรมเป็นภายใน ย่อมกำหนด ตา หู จมูกลิ้น กาย ใจเกิดเพราะอวิชชา เกิดเพราะตัณหา เกิดเพราะกรรม เกิดเพราะอาหาร อาศัยมหาภูตรูป 4 เกิดแล้ว เป็นต้น เป็นวัตถุนานัตตญาณ.(วัตถุนานัตตญาณนิทเทส) 68/782/268/782/2 68/542/2 |
262 | [๑๖๓-๑๖๔] ปัญญาในการกำหนดธรรมเป็นภายนอก ย่อมกำหนด รูป เสียงกลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมมารมณ์ เกิดเพราะอวิชชา เป็นต้น.(โคจรนานัตตญาณนิทเทส) 68/788/268/788/2 68/546/9 |
263 | " เมื่อใดบุคคลย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นย่อมเบื่อหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทางแห่งวิสุทธิ (ความหมดจด)".(อ.โคจรนานัตตญาณนิทเทส) 68/792/868/792/8 68/549/15 |
264 | [๑๖๕-๑๗๐] จริยา มี 3 คือ วิญญาณจริยา อัญญาณจริยา ญาณจริยา.(จริยานานัตตญาณนิทเทส) 68/793/568/793/5 68/550/2 |
265 | ชื่อว่า จริยา เพราะ อรรถว่า ประพฤติในอารมณ์ , ชื่อว่า อัญญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติด้วยความไม่รู้ , ชื่อว่า ญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติในอารมณ์ที่รู้แล้ว (อ.โคจรนานัตตญาณนิทเทส) 68/800/1068/800/10 68/555/16 |
266 | ชื่อว่า อาวัชชนะ เพราะอรรถว่านำออกไปจากสันดานอันเป็นภวังค์ แล้วนึก คือน้อมไปสู่จิตสันดานในรูปารมณ์. ชื่อว่า กิริยา เพราะอรรถว่าเป็นเพียงการกระทำโดยความไม่มีวิบาก (อ.โคจรนานัตตญาณนิทเทส) 68/801/668/801/6 68/556/7 |
267 | [๑๗๑-๑๗๖] ภูมิ 4 คือ กามาวจรภูมิ รูปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ โลกุตรภูมิ.(ภูมินานัตตญาณนิทเทส) 68/811/268/811/2 68/563/5 |
268 | สังคหวัตถุ 4 (อ.ภูมินานัตตญาณนิทเทส) 68/821/568/821/5 68/570/9 |
269 | ธรรมบท 4 คือ อนภิชฌา อัพยาปาทะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.(อ.ภูมินานัตตญาณนิทเทส) 68/823/968/823/9 68/571/21 |
270 | [๑๗๗-๑๘๑] พระโยคาวจรย่อมกำหนด กามาวจรธรรมเป็นฝ่ายกุศล เป็นฝ่ายอกุศล เป็นฝ่ายอัพยากฤต ย่อมกำหนดรูปาวจรธรรมเป็นฝ่ายกุศล เป็นฝ่ายอัพ-ยากฤต , ย่อมกำหนดอรูปาวจรธรรมเป็นฝ่ายกุศล เป็นฝ่ายอัพยากฤต , ย่อมกำหนดโลกุตรธรรมเป็นฝ่ายกุศล เป็นฝ่ายอัพยากฤต (ธรรมนานัตตญาณนิทเทส) 68/824/1268/824/12 68/572/17 |
271 | [๑๘๒] ธรรมมีความปราโมทย์เป็นเบื้องต้น 9 ประการ เมื่อพระโยคาวจรมนสิการโดยความไม่เที่ยง ย่อมเกิดความปราโมทย์ ฯลฯ (ธรรมนานัตตญาณนิทเทส) 68/826/168/826/1 68/573/23 |
272 | [๑๘๓] ธรรมมีโยนิโสมนสิการเป็นเบื้องต้น 9 ประการ (ธรรมนานัตตญาณนิทเทส) 68/827/168/827/1 68/574/16 |
273 | [๑๘๔] ความต่าง 9 ประการ ความต่างแห่งผัสสะอาศัย ความต่างแห่งธาตุเกิดขึ้น ความต่างแห่งเวทนาอาศัยความต่างแห่งผัสสะเกิดขึ้น ฯลฯ.(ธรรมนานัตตญาณนิทเทส) 68/828/368/828/3 68/575/11 |
274 | กุศลกรรมบถ 10 อกุศลกรรมบถ 10 ท่านกล่าวว่าเป็นกรรมบถเพราะให้เกิดปฏิสนธิ (อ.ธรรมนานัตตญาณนิทเทส) 68/829/168/829/1 68/576/14 |
275 | เมื่อใดย่อมพิจารณา เห็นความเกิดและความเสื่อมของขันธ์ทั้งหลาย เมื่อนั้นย่อมได้ปีติและปราโมทย์ นั่นเป็นอมตะของผู้รู้แจ้งทั้งหลาย. (อ.ธรรมนานัตตญาณนิทเทส) 68/832/668/832/6 68/578/16 |
276 | [๑๘๕] ปัญญาอันรู้ยิ่งเป็นญาตัฏฐญาณ ปัญญา เครื่องกำหนดรู้เป็นติรณัฏฐ-ญาณ ปัญญาเครื่องละเป็นปริจจาคัฏฐญาณ ปัญญาเครื่องเจริญเป็นเอกรสัฏฐ-ญาณ ปัญญาเครื่องกระทำให้แจ้ง เป็นผัสสนัฏฐญาณ (ญาณปัญจกนิทเทส) 68/836/1168/836/11 68/582/2 |
277 | [๑๘๖] ปัญญาในความต่างแห่งธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ.(ปฏิสัมภิทาญาณนิทเทส) 68/839/768/839/7 68/584/9 |
278 | [๑๘๗] ปัญญาในความต่างแห่งอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทาญาณ.(ปฏิสัมภิทาญาณนิทเทส) 68/840/168/840/1 68/584/16 |
279 | [๒๐๐] การระบุพยัญชนะ และนิรุตติเพื่อแสดงธรรม 8 ประการ เพื่อแสดงอรรถ 8 ประการ ธรรมนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง อรรถนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง ปัญญาในความต่างแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ (ปฏิสัมภิทาญาณนิทเทส) 68/844/1868/844/18 68/588/5 |
280 | [๒๐๑] ญาณในธรรม 8 ประการ ญาณในอรรถ 8 ประการ ญาณในนิรุตติ16 ประการ พระโยคาวจรรู้ญาณต่างๆ เหล่านั้นด้วยญาณใด ปัญญาในความต่างแห่งปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ (ปฏิสัมภิทาญาณนิทเทส) 68/845/568/845/5 68/588/11 |
281 | นามมี 4 อย่าง คือ สามัญนาม คุณนาม กิตติมนาม โอปปาติกนาม.(อ.ปฏิสัมภิทาญาณนิทเทส) 68/847/968/847/9 68/590/3 |
282 | [๒๐๒] พิจารณาเห็นสังขารนิมิตโดยความเป็นภัย มีจิตน้อมไปในนิพพานอันไม่มีสังขารนิมิต วิหารธรรมนั้นชื่อว่า อนิมิตวิหาร , พิจารณาเห็นตัณหาอันเป็นที่ตั้งโดยความเป็นภัย มีจิตน้อมไปในนิพพานอันไม่มีตัณหาเป็นที่ตั้ง ชื่อว่าอัปปณิหิตวิหาร , พิจารณาเห็นความถือมั่นว่าตนโดยความเป็นภัย มีจิตน้อมไปในนิพพานอันว่างจากตน ชื่อว่า สุญญตวิหาร (ญาณัตตยานิทเทส) 68/849/568/849/5 68/591/10 |
283 | [๒๐๓] อนิมิตสมาบัติ , อัปปณิหิตสมาบัติ , สุญญตสมาบัติ.(ญาณัตตยานิทเทส) 68/850/168/850/1 68/591/18 |
284 | [๒๑๐] อนิมิตวิหารสมาบัติ , อัปปณิหิตวิหารสมาบัติ , สุญญตวิหารสมาบัติ.(ญาณัตตยานิทเทส) 68/853/1568/853/15 68/594/25 |
285 | [๒๑๑] สมถะมีก่อน ญาณมีภายหลัง ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลายย่อมมีได้ด้วยญาณนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในการตัดอาสวะขาด เพราะความบริ-สุทธิ์แห่งสมาธิอันเป็นเหตุไม่ฟุ้งซ่าน เป็นอานันตริกสมาธิญาณ.(อานันตริกสมาธิญาณนิทเทส) 68/858/568/858/5 68/598/13 |
286 | [๒๑๔] คำว่า อาสวะ คือ กามาสวะ ภวาสวะ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ, ภวาสวะ และอวิชชาสวะย่อมสิ้นไปไม่มีส่วนเหลือด้วยอรหัตมรรค (อานันตริกสมาธิญาณนิทเทส) 68/862/1268/862/12 68/601/20 |
287 | นรก กำเนิดสัตว์เดียรัจฉาน เปรตวิสัย และอสุรกาย ทั้ง 4 นี้ ชื่อว่า อบาย เพราะปราศจากความเจริญ คือ ความสุข (อ.อานันตริกสมาธิญาณนิทเทส) 68/865/968/865/9 68/604/3 |
288 | การระลึกถึงที่เกิดขึ้นปรารภพระพุทธเจ้า ชื่อว่า พุทธานุสติ .(อ.อานันตริกสมาธิญาณนิทเทส) 68/866/368/866/3 68/604/15 |
289 | [๒๑๖] ปฐมฌาน ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ เป็นอรณวิหารแต่ละอย่างๆ , ชื่อว่า อรณวิหาร เพราะอรรถว่า นำเสียซึ่งนิวรณ์ด้วยปฐมฌานเป็นต้น (อรณวิหารญาณนิทเทส) 68/871/568/871/5 68/608/7 |
290 | วิปัสสนาผลสมาบัติ และฌานสมาบัติอันน้อมไปเพื่อความประณีตของพระอรหันต์เท่านั้น ย่อมควรเพื่อกล่าวว่า อรณวิหาร คือ ความสงบ ความหมดทุกข์เพราะละกิเลสทั้งปวงได้แล้ว (อ.อรณวิหารญาณนิทเทส) 68/873/168/873/1 68/609/18 |
291 | อนิจจานุปัสสนา ชื่อว่า อรณวิหาร เพราะนำออกเสียซึ่งนิจจสัญญา ทุกขานุปัสสนาชื่อว่า อรณวิหาร เพราะนำออกเสียซึ่งสุขสัญญา (อ.อรณวิหารญาณนิทเทส) 68/874/268/874/2 68/610/15 |
292 | [๒๑๘-๒๒๑] สมถพละ และวิปัสสนาพละ (นิโรธสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/875/768/875/7 68/611/6 |
293 | [๒๒๓-๒๒๔] ญาณจริยา 16 และสมาธิจริยา 9 (นิโรธสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/877/968/877/9 68/612/17 |
294 | [๒๒๕] วสี 5 ประการ คือ อาวัชชนาวสี สมาปัชชนาวสี อธิฏฐานวสี วุฏฐานวสีปัจจเวกขณวสี (นิโรธสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/878/468/878/4 68/613/4 |
295 | ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่า สงบธรรมเป็นข้าศึกมีกามฉันทะ เป็นต้น สมถะนั้นแหละ ชื่อว่าเป็นพละ เพราะอรรถว่าไม่หวั่นไหว เพราะพระอนาคามี และพระอรหันต์นั้นแหละ เป็นผู้ถึงความเป็นผู้ทำให้บริบูรณ์ในสมาธิ.(อ.นิโรธสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/879/1368/879/13 68/614/3 |
296 | อธิบาย คำว่า วสี ความชำนาญ (อ.นิโรธสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/884/668/884/6 68/617/15 |
297 | นิโรธสมาบัติ เป็นอย่างไร ใครเข้านิโรธสมาบัตินั้น. ใครไม่เข้า. เข้าในที่ไหน. เพราะเพราะเหตุไรจึงเข้า (อ.นิโรธสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/887/1868/887/18 68/620/6 |
298 | การเข้านิโรธสมาบัตินั้นเป็นอย่างไร ? (อ.นิโรธสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/889/168/889/1 68/621/1 |
299 | กิจเบื้องต้นก่อนที่จะเข้านิโรธสมาบัติ. (อ.นิโรธสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/890/568/890/5 68/621/26 |
300 | ผู้ตายแล้ว และผู้เข้านิโรธต่างกันอย่างไร (อ.นิโรธสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/894/468/894/4 68/624/19 |
301 | ไม่ควรกล่าวว่า นิโรธสมาบัติ เป็นสังขตะบ้าง อสังขตะบ้าง โลกิยะบ้าง โลกุตตระบ้าง เพราะ ไม่มีโดยสภาพ ฉะนั้นควรกล่าวว่า เป็น นิปผันนะ คือ สำเร็จแล้ว.(อ.นิโรธสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/894/1468/894/14 68/624/25 |
302 | [๒๒๖] ปัญญาในความสิ้นไปแห่งความเป็นไปแห่งกิเลส และขันธ์ของบุคคลผู้รู้สึกตัว เป็นปรินิพพานญาณ (ปรินิพพานญาณนิทเทส) 68/895/868/895/8 68/625/11 |
303 | ผู้รู้สึกตัวด้วยสัมปชัญญะ 4 คือ ความรู้ตัวในกิจที่เป็นประโยชน์แก่ตัว , ความรู้ตัวในปัจจัยที่สบาย , ความรู้ตัวในธรรมอันเป็นโคจร , ความรู้ตัวในความไม่หลงงมงาย. (อ.ปรินิพพานญาณนิทเทส) 68/896/1568/896/15 68/626/13 |
304 | นิพพานธาตุ มี 2 อย่าง คือ สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ.(อ.ปรินิพพานญาณนิทเทส) 68/898/168/898/1 68/627/13 |
305 | [๒๒๗-๒๓๑] ปัญญาในความไม่ปรากฏแห่งธรรมทั้งปวง ในการตัดขาดโดยชอบและนิโรธ เป็นสมสีสัฏฐญาณ (สมสีสัฏฐญาณนิทเทส) 68/899/268/899/2 68/628/2 |
306 | [๒๓๒] คำว่า สีสัง (เป็นประธาน) , ธรรมเป็นประธาน 13 ประการ ได้แก่ ตัณหามีความกังวลเป็นประธาน เป็นต้น. (สมสีสัฏฐญาณนิทเทส) 68/901/168/901/1 68/629/12 |
307 | ปรามาโส คือ ความยึดมั่น (อ.สมสีสัฏฐญาณนิทเทส) 68/903/1068/903/10 68/631/12 |
308 | การตรัสรู้ และอนุปาทิเสสปรินิพพานในเพราะ โรคอย่างหนึ่ง , ในเพราะอิริยาบถอย่างหนึ่ง , ในเพราะชีวิตินทรีย์ อันเสมอกันก็มี แห่งอริยสัจ 4 ย่อมมีแก่ผู้ใด ผู้นั้นท่านกล่าวว่า เป็น สมสีสี (อ.สมสีสัฏฐญาณนิทเทส) 68/904/1368/904/13 68/632/5 |
309 | [๒๓๓-๒๓๔] ปัญญาในความสิ้นไปแห่งกิเลสอันหนา สภาพต่างๆ และเดช เป็นสัลเลขัฏฐญาณ (สัลเลขัฏฐญาณนิทเทส) 68/905/768/905/7 68/632/18 |
310 | [๒๓๕] เดชมี 5 คือ จรณเดช คุณเดช ปัญญาเดช บุญญเดช ธรรมเดช.(สัลเลขัฏฐญาณนิทเทส) 68/906/768/906/7 68/633/14 |
311 | ลักษณะของกิเลส 17 อย่าง มีราคะ เป็นต้น (อ.สัลเลขัฏฐญาณนิทเทส) 68/907/1368/907/13 68/634/12 |
312 | ชื่อว่า อภิสังขาร เพราะ ปรุงแต่งวิบาก มี 3 ประการ คือ บุญ บาป ความไม่หวั่น-ไหว (อ.สัลเลขัฏฐญาณนิทเทส) 68/909/1068/909/10 68/635/26 |
313 | " ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กรรมไม่ดำ ไม่ขาวมีอยู่ กรรมอันเป็นวิบากของกรรมไม่ดำไม่ขาว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นไปแห่งกรรม" (อ.สัลเลขัฏฐญาณนิทเทส) 68/911/1568/911/15 68/637/16 |
314 | [๒๓๗-๒๓๘] ปัญญาในความประคองไว้ซึ่งจิตอันไม่หดหู่ และจิตที่ส่งไป เป็นวีริยารัมภญาณ (วีริยารัมภญาณนิทเทส) 68/913/268/913/2 68/638/14 |
315 | [๒๓๙-๒๔๑] ปัญญาในการประกาศธรรมต่างๆ เป็นอัตถสันทัสนญาณ.(อัตถสันทัสนญาณนิทเทส) 68/916/1068/916/10 68/641/7 |
316 | [๒๔๒] ธรรมทั้งปวงท่านสงเคราะห์เป็นหมวดเดียวกัน โดยอาการ 12.(ทัสนวิสุทธิญาณนิทเทส) 68/919/668/919/6 68/643/9 |
317 | [๒๔๒] คำว่า ทัสนวิสุทธิ ความว่าในขณะโสดาปัตติมรรค ทัสนะย่อมหมดจดในขณะโสดาปัตติผลหมดจดแล้วฯลฯ (ทัสนวิสุทธิญาณนิทเทส) 68/920/468/920/4 68/644/2 |
318 | ในกาลตรัสรู้สัจจะในขณะมรรคเป็นอันเดียวกัน แห่งมรรคญาณ ย่อมมีกิจ 4 อย่างคือ ปริญญา (การกำหนดรู้) ปหานะ(การละ) สัจฉิกิริยา (การกระทำให้แจ้ง) ภาวนา (การเจริญ) (อ.ทัสนวิสุทธิญาณนิทเทส) 68/924/668/924/6 68/646/26 |
319 | [๒๔๓] รูปปรากฏโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รูปใดๆปรากฏ รูปนั้นๆ ย่อมคงที่ ฉะนั้น ปัญญาในความที่ธรรมปรากฏจึงเป็นขันติญาณ.(ขันติญาณปริโยคาหณญาณนิทเทส) 68/925/1268/925/12 68/648/2 |
320 | [๒๔๔] ปัญญาย่อมถูกต้องรูป เป็นต้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมถูกต้องรูปใดๆ ก็เข้าไปสู่รูปนั้นๆ ฉะนั้น ปัญญาในความถูกต้องธรรม จึงเป็นปริโยคาหนญาณ (ขันติญาณปริโยคาหณญาณนิทเทส) 68/926/668/926/6 68/648/13 |
321 | รูปใดๆ ที่ปรากฏ รูปนั้นๆ ย่อมคงที่ คือ รูปใดๆ ที่ปรากฏโดยความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น รูปนั้นๆ ย่อมคงที่ คือ ชอบใจโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นต้น..(อ.ขันติญาณปริโยคาหณญาณนิทเทส) 68/927/1068/927/10 68/649/9 |
322 | [๒๔๕] ปัญญาในการรวมธรรม เป็นปเทสวิหารญาณ (ปเทสวิหารญาณนิทเทส) 68/928/768/928/7 68/650/2 |
323 | พวกมิจฉาทิฏฐิให้ข้าวยาคู และภัต เป็นต้น ในวันปักษ์ เพราะอาศัยทิฏฐิ ย่อมปฏิบัติคนบอดและคนโรคเรื้อน เป็นต้น สร้างศาลา ขุดสระโบกขรณีในทาง 4 แพร่งเวทนาที่เป็นกุศล ย่อมเกิดแก่พวกมิจฉาทิฏฐิเหล่านั้น. (อ.ปเทสวิหารญาณนิทเทส) 68/930/1168/930/11 68/651/11 |
324 | สัมมาทิฏฐิชนเหล่านั้น อาศัยสัมมาทิฏฐิด่าบริภาษ พวกมิจฉาทิฏฐิ ยกตนข่มผู้อื่นอกุศลเวทนา ย่อมเกิดแก่สัมมาทิฏฐิชนเหล่านั้น. (อ.ปเทสวิหารญาณนิทเทส) 68/932/968/932/9 68/652/21 |
325 | ความคิดเพื่อหาอุบายในการทำบาป ชื่อว่า มิจฉาญาณ อีกอย่างหนึ่ง มิจฉาญาณคือ ญาณในการพิจารณาผิด (อ.ปเทสวิหารญาณนิทเทส) 68/933/1568/933/15 68/653/18 |
326 | [๒๔๖] ปัญญาในความมีเนกขัมมะเป็นอธิบดี ย่อมหลีกออกจากกามฉันทะด้วยปัญญาเครื่องรู้ดีเพราะฉะนั้น ปัญญาในความมีกุศลธรรมเป็นอธิบดี จึงเป็นสัญญาวิวัฏฏญาณ ฯลฯ (วิวัฏฏญาณฉักกนิทเทส) 68/936/1568/936/15 68/656/2 |
327 | [๒๔๗] กามฉันทะเป็นความเป็นต่างๆ เนกขัมมะเป็นอย่างเดียว เมื่อพระโยคาวจรคิดถึงความที่เนกขัมมะเป็นธรรมอย่างเดียว จิตย่อมหลีกออกจากกามฉันทะปัญญาในธรรมเป็นเหตุหลีกออกจากความเป็นต่างๆ จึงเป็นเจโตวิวัฏฏญาณ ฯลฯ .(วิวัฏฏญาณฉักกนิทเทส) 68/938/168/938/1 68/656/20 |
328 | [๒๔๘] ปัญญาการอธิษฐาน เป็นจิตตวิวัฏฏญาณ (วิวัฏฏญาณฉักกนิทเทส) 68/939/168/939/1 68/657/14 |
329 | [๒๔๙] เมื่อรู้ชัดและเห็นแจ้งตามความเป็นจริงว่า ตาว่างเปล่าจากตน จากสิ่งที่เนื่องด้วยตน จากความเที่ยง จากความยั่งยืน จากความคงที่ หรือจากความไม่แปรปรวน เป็นธรรมดา ญาณย่อมหลีกออกจากความยึดถือในกาม เพราะฉะนั้น ปัญญาในธรรมอันว่างเปล่าจึงเป็น ญาณวิวัฏฏญาณ ฯลฯ 68/939/1168/939/11 68/657/23 |
330 | [๒๕๐] ปัญญาในความสลัดออก เป็นวิโมกขวิวัฏฏญาน (วิวัฏฏญาณฉักกนิทเทส) 68/940/768/940/7 68/658/10 |
331 | [๒๕๑-๒๕๒] ปัญญาในความว่าธรรมจริง เป็นสัจจวิวัฏฏญาณ (วิวัฏฏญาณฉักกนิทเทส) 68/940/1768/940/17 68/658/18 |
332 | [๒๕๓] ปัญญาในความสำเร็จด้วยการกำหนดรูปกาย(ของตน) และจิต (มีฌานเป็นบาท) เข้าด้วยกัน และด้วยสามารถแห่งการตั้งไว้ซึ่งสุขสัญญา และลหุสัญญาเป็นอิทธิวิธญาณ (อิทธิวิธญาณนิทเทส) 68/950/968/950/9 68/665/18 |
333 | ผู้ประสงค์จะยังอิทธิบาทให้สมบูรณ์ พึงเป็นผู้ชำนาญในกสิณ 8 ฝึกจิตโดยอาการ 14 แล้วย่อมแสดงฤทธิ์ได้มีอย่างต่างๆ (อ.อิทธิวิธญาณนิทเทส) 68/955/568/955/5 68/669/6 |
334 | ย่อมตั้งกายไว้ในจิต เพื่อการไปด้วยกายอันไม่ปรากฏ , ย่อมตั้งจิตไว้ในกาย เพื่อการไปด้วยกายอันปรากฏ (อ.อิทธิวิธญาณนิทเทส) 68/957/668/957/6 68/670/16 |
335 | เมื่อหน่วงสุขสัญญาอันเกิดร่วมกับจตุตถฌาน และลหุสัญญาให้เข้าไปในกายอยู่กายนั้นก็เป็นของเบาดุจปุยนุ่น (อ.อิทธิวิธญาณนิทเทส) 68/958/968/958/9 68/671/12 |
336 | วิธีแสดงฤทธิ์ทำให้เป็นหลายคน (อ.อิทธิวิธญาณนิทเทส) 68/960/168/960/1 68/672/18 |
337 | วิธีแสดงฤทธิ์โดยไปทะลุภูเขา ฝาเรือน ได้โดยไม่ติดขัด (อ.อิทธิวิธญาณนิทเทส) 68/963/1068/963/10 68/675/7 |
338 | วิธีแสดงฤทธิ์ โดยดำดิน และไปในอากาศ (อ.อิทธิวิธญาณนิทเทส) 68/964/1168/964/11 68/676/1 |
339 | [๒๕๔] ปัญญาในการกำหนดเสียงเป็นนิมิตหลายอย่าง หรืออย่างเดียว ด้วยสามารถการแผ่วิตกไป เป็นโสตธาตุวิสุทธิญาณ (โสตธาตุวิสุทธิญาณนิทเทส) 68/969/1168/969/11 68/679/12 |
340 | อุบายการฝึกสำหรับผู้เริ่มต้น เพื่อให้เกิดทิพโสต (หูทิพย์) (อ.โสตธาตุวิสุทธิญาณนิทเทส) 68/971/1068/971/10 68/681/2 |
341 | [๒๕๕] ปัญญาในการกำหนดจริยา คือ วิญญาณหลายอย่างหรืออย่างเดียว ด้วยความแผ่ไปแห่งจิต 3 ประเภท และด้วยสามารถ ความผ่องใสแห่งอินทรีย์ทั้งหลายเป็นเจโตปริยญาณ (เจโตปริยญาณนิทเทส) 68/974/1468/974/14 68/683/13 |
342 | ผู้ต้องการจะทำญาณนี้ให้เกิด ควรทำทิพยจักษุญาณให้เกิดก่อน เจริญอาโลกกสิณเห็นสีของโลหิตเพราะอาศัยหทัยรูป ถ้ากุศลโสมนัสยังเป็นไปอยู่ โลหิตย่อมมีสีแดงเมื่ออกุศลโสมนัสยังเป็นไปอยู่ โลหิตนั้นย่อมมีสีขุ่นมัว เมื่อกุศลอุเบกขายังเป็นไปอยู่ ย่อมมีสีใสเหมือนน้ำมันงา (อ.เจโตปริยญาณนิทเทส) 68/976/868/976/8 68/685/2 |
343 | ปุถุชนทั้งหลายย่อมไม่รู้มรรคจิต และผลจิตของพระอริยะทั้งหลาย.(อ.เจโตปริยญาณนิทเทส) 68/979/1168/979/11 68/687/4 |
344 | [๒๕๖] ปัญญาในการกำหนดธรรมทั้งหลาย อันเป็นไปตามปัจจัยด้วยสามารถความแผ่ไปแห่งกรรมหลายอย่าง หรืออย่างเดียว เป็นบุพเพนิวาสานุสติญาณนิท-เทส (บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/980/268/980/2 68/687/10 |
345 | การมนสิการปฏิจจสมุปบาท มีอุปการะมากแก่บุพเพนิวาสานุสติญาณ.(อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/982/1368/982/13 68/689/8 |
346 | วิญญาณนี้เกิดขึ้นเพียงอาศัยรูปธรรม และอรูปธรรมเป็นปัจจัยอันได้แล้ว ย่อมเข้าถึงภพอื่น มิใช่สัตว์มิใช่ชีวะ (อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/992/568/992/5 68/695/8 |
347 | เดียรถีย์ทั้งหลาย ย่อมระลึกชาติได้ 40 กัป ระลึกได้ลำดับขันธ์เท่านั้น ส่วนอัคร-สาวกทั้งสองไม่มีกิจต้องระลึกตามลำดับขันธ์ คือ เห็นจุติของอัตภาพหนึ่งแล้วย่อมเห็นปฏิสนธิด้วย (อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/999/1368/999/13 68/700/2 |
348 | การฝึกเพื่อให้ระลึกชาติได้ (อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/1001/1468/1001/14 68/701/13 |
349 | สังวัฏฏกัป (กัปเสื่อม) มี 3 คือ ด้วยไฟ ด้วยน้ำ ด้วยลม (อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/1005/568/1005/5 68/703/23 |
350 | เมื่อจักรวาลพินาศ แม้สัตว์นรกก็ไปเกิดในพรหมโลก (อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/1006/1068/1006/10 68/704/16 |
351 | การเกิดขึ้นแห่งจักรวาล (อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/1010/368/1010/3 68/707/2 |
352 | 4 อสงไขย เป็นมหากัปหนึ่ง (อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/1015/468/1015/4 68/710/12 |
353 | สมัยที่กัปพินาศด้วยน้ำ และสมัยที่กัปพินาศด้วยลม (อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/1015/668/1015/6 68/710/14 |
354 | เพราะอกุศลมูลเป็นเหตุ โลกจึงพินาศ , เมื่อโทสะหนา โลกพินาศด้วยไฟ ราคะหนาพินาศด้วยน้ำ โมหะหนาพินาศด้วยลม (อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/1017/1868/1017/18 68/712/12 |
355 | [๒๕๗] ปัญญาในความเห็นรูปเป็นนิมิตหลายอย่าง หรืออย่างเดียวด้วยสามารถแสงสว่าง เป็นทิพจักษุญาณ (ทิพจักขุญาณนิทเทส) 68/1021/1068/1021/10 68/715/4 |
356 | วิธีฝึกเพื่อให้ได้ทิพจักษุ (อ.ทิพจักขุญาณนิทเทส) 68/1024/368/1024/3 68/717/2 |
357 | เมื่อเกิดทิพจักษุญาณแล้วย่อมเกิด ยถากัมมูปคญาณ คือ รู้การทำกรรมของสัตว์นั้นด้วย (อ.ทิพจักขุญาณนิทเทส) 68/1028/1768/1028/17 68/720/12 |
358 | วิธีขอขมาเมื่อติเตียนพระอริยะ (อ.ทิพจักขุญาณนิทเทส) 68/1030/568/1030/5 68/721/10 |
359 | โทษอื่นที่มีโทษมากกว่ามิจฉาทิฏฐิ ไม่มี (อ.ทิพจักขุญาณนิทเทส) 68/1032/1068/1032/10 68/722/18 |
360 | ความหมายของคำว่า อบาย ทุคติ วินิบาต นิรยะ (อ.ทิพจักขุญาณนิทเทส) 68/1033/568/1033/5 68/722/25 |
361 | อารมณ์แห่งญาณทั้ง 5 มีอิทธิวิธญาณ เป็นต้น (อ.ทิพจักขุญาณนิทเทส) 68/1035/168/1035/1 68/724/4 |
362 | [๒๕๘-๒๖๒] ปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญในอินทรีย์ 3 ประการ โดยอาการ 64 เป็นอาสวักขยญาณ (อาสวักขยญาณนิทเทส) 68/1036/768/1036/7 68/725/2 |
363 | [๒๖๓] ทิฏฐาสวะทั้งสิ้น กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ อันเป็นเหตุให้ไปสู่อบาย ย่อมสิ้นไปเพราะโสดาปัตติมรรค (อาสวักขยญาณนิทเทส) 68/1039/868/1039/8 68/727/5 |
364 | [๒๖๔] ปัญญาในความกำหนดรู้ เป็นทุกขญาณ, ปัญญาในความละ, เป็นสมุทย-ญาณ, ปัญญาในความทำให้แจ้ง เป็นนิโรธญาณ, ปัญญาในความเจริญ เป็นมรรคญาณ. (สัจญาณจตุกทวยนิทเทส) 68/1045/1668/1045/16 68/732/2 |
365 | [๒๖๖] ทุกขญาณ เป็นไฉน ? (สัจญาณจตุกทวยนิทเทส) 68/1046/1768/1046/17 68/732/19 |
366 | ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดเห็นทุกข์ ผู้นั้นย่อมเห็นแม้ทุกขสมุทัย ย่อมเห็นแม้ทุกข-นิโรธ ย่อมเห็นแม้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา (อ.สัจญาณจตุกทวยนิทเทส) 68/1048/1368/1048/13 68/734/5 |
367 | แสงสว่างแห่งปัญญา เป็นเลิศกว่าแสงสว่างเหล่าอื่น (อ.สัจญาณจตุกทวยนิทเทส) 68/1052/1268/1052/12 68/736/20 |
368 | [๒๖๘] ญาณในอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทา,ญาณในธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทา,ญาณในนิรุตติเป็นนิรุตติปฏิสัมภิทา, ญาณในปฏิภาณเป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทา..(สุทธิกปฏิสัมภิทาญาณนิทเทส) 68/1054/268/1054/2 68/737/20 |
369 | [๒๖๙-๒๗๖] พระตถาคตย่อมทรงรู้ ทรงเห็น ทรงทราบชัด ทรงแทงตลอดซึ่งอินทรีย์ 5 ประการ ด้วยอาการ 50 นี้เป็น อินทริยปโรปริยัตตญาณ (ญาณกำหนดรู้ความหย่อน และยิ่งแห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลาย) ของพระตถาคต.(อินทริยปโรปริยัตตญาณนิทเทส) 68/1058/768/1058/7 68/741/5 |
370 | [๒๗๗] พระตถาคตย่อมทรงทราบ ฉันทะเป็นที่มานอน กิเลสอันนอนเนื่อง จริตอธิมุตติ ของสัตว์ทั้งหลาย ทรงทราบชัด ภัพพสัตว์และอภัพพสัตว์.(อาสยานุสยญาณนิทเทส) 68/1070/168/1070/1 68/750/4 |
371 | [๒๗๙] กิเลสอันนอนเนื่องของสัตว์ทั้งหลาย คือ กามราคานุสัย ปฏิฆานุสัยมานานุสัย ทิฏฐานุสัย วิจิกิจฉานุสัย ภวราคานุสัย อวิชชานุสัย.(อาสยานุสยญาณนิทเทส) 68/1071/968/1071/9 68/751/5 |
372 | [๒๘๐] ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร อเนญชาภิสังขาร เป็นภูมิน้อยก็ตามเป็นภูมิมากก็ตาม นี้เป็นจริตของสัตว์ทั้งหลาย (อาสยานุสยญาณนิทเทส) 68/1071/1768/1071/17 68/751/13 |
373 | [๒๘๑] สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอธิมุตติเลว ย่อมสมาคมคบหานั่งใกล้กับสัตว์ผู้มีอธิมุตติเลวเหมือนกัน (อาสยานุสยญาณนิทเทส) 68/1072/268/1072/2 68/751/16 |
374 | [๒๘๒] สัตว์ทั้งหลาย ผู้ประกอบด้วยธรรมเป็นเครื่องกั้นคือ กรรม กิเลส วิบากเป็นผู้ไม่มีศรัทธา ไม่มีฉันทะ มีปัญญาทราม ไม่อาจย่างเข้าสู่สัมมัตตนิยามในกุศลธรรมทั้งหลาย เหล่านี้เป็นอภัพพสัตว์ (อาสยานุสยญาณนิทเทส) 68/1072/1368/1072/13 68/752/2 |
375 | จริต คือ กุศลกรรมและอกุศลกรรมที่ทำไว้แล้วในชาติก่อน , อธิมุตติ ได้แก่ การปล่อยจิตไปในกุศล หรืออกุศลในชาตินี้ (อ.อาสยานุสยญาณนิทเทส) 68/1073/968/1073/9 68/752/16 |
376 | อธิบาย คำว่า อนุสัย เพราะอรรถว่า การนอนเนือง จริงอยู่ กิเลสเหล่านี้ ย่อมนอนเนื่อง ในสันดานของสัตว์นั้นๆ เพราะยังละไม่ได้ (อ.อาสยานุสยญาณนิทเทส) 68/1083/568/1083/5 68/759/24 |
377 | หากว่า อาจารย์และอุปัชฌาย์ เป็นผู้ไม่มีศีล ลูกศิษย์เป็นผู้มีศีล เขาจะไม่เข้าไปหาแม้อาจารย์และอุปัชฌาย์ของตน จะเข้าไปหาภิกษุผู้สมควรเช่นกับตนเท่านั้นเพราะธาตุแห่งอัธยาศัยกำหนดไว้ (อ.อาสยานุสยญาณนิทเทส) 68/1088/1168/1088/11 68/763/20 |
378 | ภวังค์ของผู้ใด ยังไม่เป็นบาทของโลกุตระ แม้ผู้นั้นก็ยังชื่อว่าเป็นผู้มีปัญญาอ่อนอยู่นั้นแหละ (อ.อาสยานุสยญาณนิทเทส) 68/1090/968/1090/9 68/765/4 |
379 | [๒๘๔] ยมกปาฏิหาริยญาณของพระตถาคตเป็นไฉน ? (ยมกปาฏิหาริยญาณนิทเทส) 68/1091/268/1091/2 68/765/16 |
380 | ยมกปาฏิหาริย์ นี้ไม่ทั่วไป ด้วยสาวกทั้งหลาย (อ.ยมกปาฏิหาริยญาณนิทเทส) 68/1093/368/1093/3 68/767/7 |
381 | [๒๘๕] พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้ตรัสรู้แล้ว ทรงพิจารณาเห็นอยู่ด้วยอาการเป็นอันมาก ทรงเห็นอยู่ว่าโลกสันนิวาสอันไฟติดโชนแล้ว ฯลฯ เราเป็นผู้ดับรอบแล้วจะช่วยให้สัตว์โลกดับรอบด้วย จึงทรงแผ่พระมหากรุณาไปในหมู่สัตว์ นี้เป็นมหา-กรุณาสมาปัตติญาณของพระตถาคต. (มหากรุณาสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/1099/15468/1099/154 68/772/8 |
382 | ลำดับแห่งขันธ์ ธาตุ อายตนะ ยังไม่ขาดสาย ยังเป็นไปอยู่ ท่านเรียกว่า สงสาร.(อ.มหากรุณาสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/1113/1168/1113/11 68/782/18 |
383 | ชื่อว่า โยคะ เพราะอรรถว่า ประกอบไว้ในวัฏฏะ ดุจโคถูกผูกไว้ที่เกวียน ด้วยโยคะ 4 อย่าง, ชื่อว่า คันถะ เพราะร้อย ผูกผู้มีกิเลสไว้ในวัฏฏะด้วยจุติและปฏิสนธิคันถะมี 4 อย่าง (อ.มหากรุณาสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/1123/568/1123/5 68/790/17 |
384 | คติ 5 คือ นรก กำเนิดดิรัจฉาน เปรตวิสัย มนุษย์ เทวดา.(อ.มหากรุณาสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/1125/1268/1125/12 68/792/15 |
385 | มูลเหตุแห่งการวิวาท 6 อย่าง (อ.มหากรุณาสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/1126/1268/1126/12 68/793/1 |
386 | เมื่อภิกษุ 2 รูป วิวาทกัน ย่อมแตกกันเป็น 2 ฝ่าย จนถึงพรหมโลก ย่อมเป็นไปเพื่อทุกข์แก่เทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย (อ.มหากรุณาสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/1128/1568/1128/15 68/794/6 |
387 | บุรุษโทษ 8 ประการ ของภิกษุผู้แก้ตัวเมื่อถูกโจท (อ.มหากรุณาสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/1137/1268/1137/12 68/800/4 |
388 | วัตถุเป็นเหตุอาฆาตกัน 9 อย่าง (อ.มหากรุณาสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/1141/1768/1141/17 68/802/21 |
389 | มานะ 9 อย่าง (อ.มหากรุณาสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/1143/1368/1143/13 68/803/17 |
390 | ตัณหา 108 (อ.มหากรุณาสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/1151/168/1151/1 68/808/21 |
391 | [๒๘๖-๒๙๐] สัพพัญญุตญาณ เพราะอรรถว่า รู้สังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวง มิได้มีส่วนเหลือ ชื่อว่า อนาวรณญาณ เพราะอรรถว่า ในญาณนั้นไม่มีเครื่องกั้น (สัพพัญญุตญาณนิทเทส) 68/1154/368/1154/3 68/811/2 |
392 | [๒๙๑] บทธรรมที่พระตถาคตไม่ทรงเห็นแล้ว ไม่มีในโลก (สัพพัญญุตญาณนิทเทส) 68/1156/1368/1156/13 68/812/25 |
393 | [๒๙๒] พุทธญาณ 14 (สัพพัญญุตญาณนิทเทส) 68/1157/168/1157/1 68/813/6 |
394 | พระสัพพัญญุตญาณ เรียกว่า สมันตจักษุ (อ.สัพพัญญุตญาณนิทเทส) 68/1170/1068/1170/10 68/822/20 |