1 | [๓๗๘] " ก่อนแต่กายแตกพระอรหันต์เป็นผู้ปราศจากตัณหา ผู้ไม่อาศัยส่วนเบื้องต้นอันใครๆ ไม่นับได้ในส่วนท่ามกลาง ความทำไว้ในเบื้องหน้ามิได้มี แก่พระอรหันต์นั้น" (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/3/3 66/3/8 |
2 | [๓๗๙] อธิบาย คำว่า ภควา (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/3/14 66/3/20 |
3 | [๓๘๐] พระอรหันต์ ย่อมไม่พอใจ ไม่ชอบใจ ไม่ถึงความปลื้มใจ ด้วยความหัวเราะ การเจรจา การปราศรัย และการเล่นหัวกับมาตุคามที่มีในคราวก่อนนั้นจึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่อาศัยส่วนเบื้องต้น (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/6/1 66/6/1 |
4 | [๓๘๓] " บุคคลนั้นแล ผู้ไม่โกรธ ไม่สะดุ้ง ไม่โอ้อวด ไม่มีความคะนอง พูดด้วย-ปัญญา ไม่ฟุ้งซ่าน สำรวมวาจา เป็นมุนี" (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/8/12 66/8/12 |
5 | [๓๘๔] เหตุให้เกิดความโกรธ 10 อย่าง (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/8/17 66/8/18 |
6 | [๓๘๕] คำว่า ผู้ไม่สะดุ้ง (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/10/16 66/10/11 |
7 | [๓๘๖] คำว่า ผู้ไม่โอ้อวด (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/11/8 66/11/2 |
8 | [๓๘๗] คำว่า ผู้ไม่มีความรำคาญ (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/12/12 66/12/2 |
9 | [๓๙๗] ความหลอกลวง 3 อย่าง คือ ความหลอกลวง กล่าวด้วยการซ่องเสพปัจจัย ,หลอกลวง อาศัยอิริยาบถ , หลอกลวงด้วยการพูดเลียบเคียง (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/20/20 66/19/20 |
10 | [๓๙๘] ความตระหนี่ 5 อย่าง คือ ตระหนี่ที่อยู่ ตระหนี่สกุล ตระหนี่ลาภ ตระหนี่วรรณะ ตระหนี่ธรรม (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/24/16 66/23/10 |
11 | [๓๙๙] ความคะนอง 3 อย่าง คือ คะนองทางกาย คะนองทางวาจา คะนองทางจิต (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/25/7 66/23/24 |
12 | [๔๐๐] คนทุศีล มีบาปธรรม เป็นต้น นี้ เรียกว่า บุคคลผู้เป็นที่รังเกียจ .(ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/30/1 66/27/19 |
13 | [๔๐๑] ความเป็นผู้มีวาจาส่อเสียด (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/31/8 66/28/23 |
14 | [๔๐๖] ผู้มีปฏิภาณ 3 จำพวก คือ ผู้มีปฏิภานเพราะปริยัติ เพราะการไต่ถาม เพราะอธิคม (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/34/8 66/32/2 |
15 | [๔๐๗] ภิกษุรู้ยิ่ง ซึ่งธรรมที่รู้ยิ่ง ด้วยตนเอง อันประจักษ์ แก่ตนเอง แล้วไม่ต้องเชื่อใครในธรรมนั้นอีก (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/35/9 66/33/3 |
16 | [๔๐๗] ผู้ไม่คลายกำหนัด ทั้งไม่กำหนัด คือ พระอรหันต์ (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/37/18 66/35/15 |
17 | [๔๑๑] ความหมายของคำว่า ความพิโรธ (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/41/16 66/38/21 |
18 | [๔๑๒] " บุคคลเป็นผู้มีอุเบกขา มีสติทุกเมื่อ ไม่สำคัญว่าเสมอเขา ไม่สำคัญว่าดีกว่าเขา ไม่สำคัญว่าต่ำกว่าเขาในโลก กิเลสอันหนาทั้งหลายย่อมไม่มีแก่บุคคลนั้น"(ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/44/1 66/40/25 |
19 | [๔๑๓] ผู้ประกอบด้วยอุเบกขา มีองค์ 6 (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/44/6 66/41/4 |
20 | [๔๒๔] กิเลสเครื่องร้อยรัด 4 อย่าง (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/51/14 66/47/20 |
21 | [๔๒๗] บุตร 4 จำพวก คือ บุตรเกิดแต่ตน บุตรเกิดในเขต บุตรที่เขาให้ บุตรที่เกิดในสำนัก (ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/53/14 66/49/14 |
22 | [๔๓๐] ชื่อว่า ปุถุชน เพราะอรรถว่า ให้กิเลสหนาเกิด เป็นผู้เลือกหน้าศาสดามาก.(ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/55/3 66/51/3 |
23 | [๔๓๗] " ผู้ใดไม่มีความถือว่าของตนในโลก เมื่อสิ่งที่ถือว่าของตนไม่มี ย่อมไม่เศร้าโศก และไม่ถึงความลำเอียงในธรรมทั้งหลาย ผู้นั้นแลเรียกว่า ผู้สงบ".(ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/59/13 66/55/22 |
24 | พระพุทธเจ้าทรงตรัส สัมมาปริพพาชนียสูตร แก่เทวดาจำพวกราคจริต, ตรัสกลหวิวาทสูตรแก่เทวดาจำพวกโทสจริต , ตรัสมหาวิยูหสูตรแก่เทวดาจำพวกโมหจริต , ตรัสจูฬวิยูหสูตรแก่เทวดาจำพวกวิตกจริต , ตรัสตุวฏกสูตรแก่เทวดาจำพวกศรัทธาจริต , ตรัสปุราเภทสูตรแก่เทวดาจำพวกพุทธิจริต (อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/64/16 66/61/2 |
25 | " บุคคลฆ่าความโกรธเสียได้ย่อมอยู่เป็นสุข ฆ่าความโกรธได้แล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก ดูก่อนพราหมณ์ พระอริยเจ้าทั้งหลาย ทรงสรรเสริญการฆ่าความโกรธ อันมีรากเป็นพิษมียอดหวาน เพราะว่าบุคคลฆ่าความโกรธได้แล้วย่อมไม่เศร้าโศก".(อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/76/5 66/72/4 |
26 | เจตนาอันมีกายประโยค หรือวจีประโยคเป็นที่ตั้งของผู้พูดเพื่อให้คนอื่นเข้าใจผิดโดยประสงค์จะพูดให้ผิด ชื่อว่า มุสาวาท (อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/79/7 66/75/7 |
27 | ความสรรเสริญในคุณอันไม่มี และความไม่รู้จักประมาณในการรับ ชื่อว่า มีความปรารถนาลามก.(อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/83/16 66/79/21 |
28 | ความปรารถนาน้อย 4 อย่าง คือปรารถนาน้อยในปัจจัย ในธุดงค์ ในปริยัติในการบรรลุ (อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/84/18 66/80/21 |
29 | ความสันโดษ 12 อย่าง (อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/85/20 66/81/21 |
30 | สังสัคคะ(ความเกี่ยวข้อง) 5 อย่าง เกี่ยวข้องด้วยการฟัง การเห็น การสนทนาการบริโภคร่วมกัน เกี่ยวข้องทางกาย (อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/89/5 66/84/23 |
31 | ที่ชื่อว่า ถึงพร้อมด้วย อาจาระ (อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/98/18 66/94/8 |
32 | โคจรมี 3 อย่าง คือ โคจรอันเป็นอุปนิสัย โคจรอันควรรักษาไว้ โคจรอันเข้าไปผูกพัน (อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/99/3 66/94/16 |
33 | นักมวยอาชีพ นักมวยปล้ำ และคนใช้กำลัง เป็นต้น ย่อมให้ร่างกายอิ่มเอิบด้วยเนื้อ และปลา เป็นต้น อันละเอียดอ่อนด้วยหวังว่าเนื้อของเราจะบริบูรณ์ .(อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/108/3 66/103/5 |
34 | การแสวงหาไม่เป็นธรรม การรับไม่เป็นธรรม การบริโภคไม่เป็นธรรม นี้ชื่อว่ามีโทษ , การแสวงหาโดยธรรม รับโดยธรรม พิจารณาแล้วบริโภค ชื่อว่าไม่มีโทษ..(อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/109/2 66/104/6 |
35 | " เราไม่กลัวความตาย เราไม่มีความใคร่ในชีวิต เราไม่หวังมรณะ ไม่หวังชีวิตเรารอความตาย เหมือนลูกจ้างรอรับของไม่มีพิษฉะนั้น" (อ.ปุราเภทสุตตนิทเทส) 66/115/7 66/110/9 |
36 | [๔๔๗] " ความทะเลาะ ความวิวาท ความรำพัน ความโศก ความตระหนี่ความถือตัว ความดูหมิ่น และความพูดส่อเสียด มีมาแต่สิ่งที่รัก ความทะเลาะ ความวิวาทประกอบในความตระหนี่ และเมื่อความวิวาทกันเกิดแล้ว ความพูดส่อเสียดก็มี" (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/124/1 66/118/26 |
37 | [๔๕๗] สิ่งที่รักทั้งหลายในโลก , ความโลภ ความหวัง และความสำเร็จหวังที่มีแก่นรชนเพื่อโลกหน้านั้น มีฉันทะเป็นแดนเกิด (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/129/20 66/123/25 |
38 | [๔๕๘] ฉันทะ ความพอใจ 5 อย่าง พอใจในการแสวงหา ในการได้ ในการบริโภค ในการสั่งสม ในการสละ (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/130/9 66/124/11 |
39 | [๔๖๗] " บัณฑิตทั้งหลาย กล่าวธรรมใด คือความดีใจ ความเสียใจในโลก ฉันทะย่อมมีมาเพราะอาศัยธรรมนั้น ชันตุชนเห็นความไม่มี และความมีในรูปทั้งหลายย่อมทำความตัดสินใจในโลก" (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/135/20 66/129/7 |
40 | [๔๗๒] " ธรรมแม้เหล่านี้ คือ ความโกรธ ความเป็นผู้พูดเท็จ และความสงสัย เมื่อความดีใจและความเสียใจทั้งสองมีอยู่ ก็มีมา บุคคลผู้มีความสงสัย พึงศึกษาเพื่อทางแห่งญาณ และธรรมเหล่าใดอันพระสมณะทราบแล้ว จึงตรัสไว้ ธรรมเหล่านั้น เมื่อความดีใจ และความเสียใจทั้งสองมีอยู่ ก็มีมา" (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/139/3 66/132/3 |
41 | [๔๗๓] เหตุให้เกิดความโกรธ (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/139/18 66/132/17 |
42 | [๔๗๓] เหตุให้เกิดการกล่าวเท็จ (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/141/2 66/133/14 |
43 | [๔๗๓] เหตุให้เกิดความสงสัย (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/141/17 66/134/5 |
44 | [๔๗๕] ศีลขันธ์น้อย ศีลขันธ์ใหญ่ ศีลเป็นที่พึ่ง เป็นเบื้องต้น เป็นเบื้องบาท เป็นความสำรวม เป็นความระวัง เป็นปาก เป็นประธานแห่งความถึงพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายฝ่ายกุศล (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/143/8 66/135/13 |
45 | [๔๘๒] ความดีใจและความเสียใจ มีผัสสะเป็นต้นเหตุ(กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/147/20 66/139/17 |
46 | [๔๙๒] " ผัสสะเกิดขึ้น เพราะอาศัยนามและรูป ความยึดถือมีความปรารถนา เป็นนิทาน เมื่อความปรารถนาไม่มี ความถือว่าของเราจึงไม่มี เมื่อรูปไม่มีผัสสะจึงไม่ถูกต้อง" (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/151/4 66/142/12 |
47 | [๔๙๖] รูปไม่มีโดยเหตุ 4 อย่าง คือ โดยการรู้ โดยการพิจารณา โดยการละโดยการก้าวล่วง (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/153/9 66/144/19 |
48 | [๕๐๒] " บุคคลไม่เป็นผู้มีสัญญาโดยสัญญาปกติ ไม่เป็นผู้มีสัญญาโดยสัญญาผิดผิดปกติ ไม่เป็นผู้ไม่มีสัญญา และไม่เป็นผู้ปราศจากสัญญา เมื่อบุคคลดำเนินอย่างนี้รูปจึงไม่มี เพราะว่าส่วนแห่งธรรมเครื่องเนิ่นช้า มีสัญญาเป็นนิทาน".(กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/156/19 66/147/24 |
49 | [๕๐๖] ธรรมเป็นเครื่องเนิ่นช้า คือ ตัณหา มานะ ทิฏฐิ (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/158/5 66/149/3 |
50 | [๕๑๐] คำว่า ยักษ์ คือ แห่งสัตว์ นรชน มาณพ บุรุษ บุคคล ผู้มีชีวิต ผู้เกิดสัตว์เกิด ผู้มีกรรม มนุษย์ (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/160/3 66/151/26 |
51 | [๕๑๘] ภิกษุผู้มีจิตพ้นวิเศษแล้วอย่างนี้ ย่อมไม่วิวาทกับใครๆ ก็เรื่องใดที่เขาพูดกันในโลก ภิกษุนั้นก็มิได้ถือมั่นพูดโดยเรื่องนั้น เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า รู้แล้ว พ้นวิเศษแล้ว ย่อมไม่ถึงความวิวาท (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/164/15 66/154/11 |
52 | ชื่อว่า นิทาน เพราะมอบผลของตน. ชื่อว่า สมุทยะ เพราะเป็นเหตุตั้งขึ้นแห่งผล. ชื่อว่า ชาติ เพราะเป็นเหตุเกิดผล (อ.กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/166/17 66/156/13 |
53 | สุรา มี 5 อย่าง คือ สุราทำด้วยแป้ง ทำด้วยขนม ทำด้วยข้าวสุก สุราใส่น้ำเชื้อน้ำดอง 5 อย่าง คือ น้ำดองดอกไม้ น้ำดองผลไม้ น้ำดองดอกมะซาง น้ำดองน้ำอ้อยงบ น้ำดองผสมเครื่องปรุง (อ.กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/170/14 66/160/6 |
54 | จิตประกอบด้วยองค์ 8 เป็นจิตควรแก่อภินิหาร เป็นบาท คือ เป็นปทัฏฐาน เพื่อได้อากาสานัญจายตนสมาบัติ (อ.กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/177/20 66/167/12 |
55 | [๕๓๐] " ข้าพระองค์ไม่อนุญาตธรรมของคนอื่น คนอื่นเป็นพาล ลามก มีปัญญาเลว สมณพราหมณ์ทั้งหมด เป็นพาล มีปัญญาเสื่อมทราม สมณพราหมณ์ทั้งปวงนี้เทียว มีความอยู่รอบในทิฏฐิ " (จูฬวิยูหสุตตนิทเทส) 66/184/7 66/172/24 |
56 | [๕๕๐-๕๕๑] " ก็หมู่สัตว์รู้ชัดสัจจะใดไม่พึงวิวาทกัน สัจจะนั้นมีอย่างเดียวเท่านั้น มิได้มิได้มี 2 อย่าง สมณพราหมณ์เหล่านั้น อวดสัจจะต่างๆ ไปเอง สมณพราหมณ์เหล่านั้นจึงไม่กล่าวเป็นอย่างเดียวกัน" (จูฬวิยูหสุตตนิทเทส) 66/190/13 66/178/17 |
57 | [๕๗๘] " ก็ถ้าบุคคลเป็นผู้เลว เพราะคำของคนอื่นไซร้ บุคคลนั้นย่อมเป็นคนมีปัญญาทรามพร้อมด้วยคนอื่นนั้น อีกอย่างหนึ่ง ถ้าบุคคลเป็นเวทคู เป็นธีรชนเองไซร้ ใครๆ ในบรรดาสมณพราหมณ์ ย่อมไม่เป็นคนพาล" (จูฬวิยูหสุตตนิทเทส) 66/200/19 66/186/22 |
58 | [๕๘๓] ชนเหล่าใด ย่อมสรรเสริญธรรมอื่นจากธรรมนี้ ชนเหล่านั้น ย่อมเป็นผู้พลาดทางแห่งความหมดจด เป็นผู้ไม่บริบูรณ์ (จูฬวิยูหสุตตนิทเทส) 66/202/5 66/188/2 |
59 | [๕๘๕] ทิฏฐิ เรียกว่า ติตถะ เจ้าทิฏฐิ เรียกว่า พวกเดียรถีย์ (จูฬวิยูหสุตตนิทเทส) 66/202/20 66/188/18 |
60 | [๕๙๖] " เจ้าทิฏฐินั้น ตั้งอยู่ในทิฏฐิที่ตกลงใจ นับถือเองแล้วย่อมถึงความวิวาทในข้างหน้าในโลก ชันตุชนละทิฏฐิที่ตกลงใจทั้งปวง ย่อมไม่ทำความบาดหมางในโลก" (จูฬวิยูหสุตตนิทเทส) 66/206/17 66/192/6 |
61 | [๖๐๖] " ก็ความสรรเสริญนั้นเป็นของน้อย ไม่พอเพื่อสงบกิเลส ข้าพระองค์ย่อมกล่าวผลแห่งความวิวาทเป็น 2 อย่าง บุคคลเห็นโทษแม้นั้นแล้ว เห็นอยู่ ซึ่งภูมิแห่งความไม่วิวาทว่า เป็นธรรมชาติเกษมไม่พึงวิวาท" (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/218/17 66/203/17 |
62 | [๖๐๘] ผลแห่งความวิวาท ทำให้เป็นไปในนรก เป็นไปในกำเนิดดิรัจฉาน เป็นไปในวิสัยแห่งเปรต (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/220/1 66/204/16 |
63 | [๖๑๐] อมตนิพพาน ได้แก่ ความสงบสังขารทั้งปวง ความสละคืนอุปธิทั้งปวงความสิ้นตัณหา ความสำรอกตัณหา ความดับตัณหา ความออกจากตัณหาเป็นเครื่องร้อยรัด เรียกว่า ภูมิแห่งความไม่วิวาท (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/220/18 66/205/10 |
64 | [๖๒๒] บุคคลย่อมเคลื่อนจากศีล และพรต เพราะเหตุ 2 ประการ คือ ย่อมเคลื่อนเพราะความชี้ขาดของผู้อื่น ไม่บรรลุจึงเคลื่อน (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/226/9 66/210/14 |
65 | [๖๒๖] " อริยสาวกละศีล และพรตทั้งปวง ละกรรมนั้นอันเป็นสาวัชชกรรม และอนวัชชกรรม ไม่ปรารถนาความหมดจด และความไม่หมดจด เป็นผู้เว้นแล้ว ไม่ยึดถือ ทิฏฐิที่มีอยู่ พึงประพฤติไป" (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/228/13 66/212/11 |
66 | [๖๕๑] " หากว่าบุคคลย่อมเป็นคนเลว เพราะคำที่ผู้อื่นตำหนิไซร้ ใครๆ ก็ไม่พึงเป็นผู้วิเศษในธรรมทั้งหลาย เพราะว่า ปุถุชนย่อมกล่าวธรรมของผู้อื่น โดยความเป็นธรรมเลว ชนทั้งหลายเป็นผู้กล่าวยืนยันในธรรม เป็นทางดำเนินของตน".(มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/237/18 66/220/22 |
67 | [๖๖๑] " ญาณอันบุคคลอื่นพึงแนะนำ ย่อมไม่มีแก่พราหมณ์ (พระอรหันต์)ความตัดสินใจแล้วจึงถือมั่นในธรรมทั้งหลาย ก็ไม่มีแก่พราหมณ์ เพราะเหตุนั้น พราหมณ์จึงเป็นผู้ล่วงเสียแล้ว ซึ่งความวิวาททั้งหลาย เพราะพราหมณ์ย่อมไม่เห็นธรรมอื่น โดยความเป็นธรรมประเสริฐ" (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/241/3 66/223/15 |
68 | [๖๗๑] " นรชนเมื่อเห็นก็เห็นนามรูป หรือเห็นแล้วก็จักรู้นามรูปเหล่านั้นเท่านั้นนรชนเห็นนามรูปมากบ้าง น้อยบ้างโดยแท้ ถึงอย่างนั้นผู้ฉลาดทั้งหลายย่อมไม่กล่าวความหมดจดเพียง ความเห็นนามรูปนั้นเลย" (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/246/4 66/227/26 |
69 | [๖๘๑] " พราหมณ์ทราบด้วยญาณแล้ว ย่อมไม่เข้าถึงซึ่งความกำหนด ไม่เป็นผู้แล่นไปด้วยทิฏฐิ ทั้งไม่มีตัณหาหรือทิฏฐิเป็นเครื่องผูกเพราะญาณ พราหมณ์นั้นรู้แล้ว ย่อมวางเฉยซึ่งสมมติทั้งหลายที่ปุถุชนให้เกิด ส่วนสมณพราหมณ์เหล่าอื่นย่อมถือมั่น" (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/250/1 66/231/8 |
70 | [๖๘๖] " มุนีสละแล้ว ซึ่งกิเลสเครื่องร้อยรัดทั้งหลายในโลกนี้ เมื่อชนทั้งหลายเกิดวิวาทกันย่อมไม่เป็นผู้แล่นไปด้วยธรรมที่ทำให้เป็นพวก มุนีนั้นเมื่อชนทั้งหลายไม่ สงบ ก็เป็นผู้สงบ วางเฉย ไม่ถือมั่น สมณพราหมณ์เหล่าอื่น ย่อมถือมั่น".(มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/252/8 66/233/17 |
71 | [๖๙๑] " มุนีละอาสวะอันมีในก่อน ไม่ทำอาสวะใหม่ ไม่เป็นผู้ดำเนินไปด้วยความพอใจ ทั้งไม่เป็นผู้กล่าวด้วยความถือมั่น มุนีนั้นเป็นธีรชน พ้นขาดแล้วจากทิฏฐิทั้งหลาย ไม่เป็นผู้ติเตียนตน ย่อมไม่ติดอยู่ในโลก" (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/254/16 66/236/6 |
72 | [๖๙๖] " มุนีนั้น กำจัดเสนาแล้วในธรรมทั้งปวง คือ ในรูปที่เห็น ในเสียงที่ได้ยินในอารมณ์ที่ทราบ มุนีนั้น เป็นผู้ปลงภาระลงแล้ว พ้นขาดแล้ว ไม่มีกำหนด ไม่เข้าไปยินดี ไม่มีความปรารถนา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่าดังนี้" (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/257/18 66/239/2 |
73 | [๖๙๗] มารเสนา 10 ได้แก่ กิเลสกาม ความไม่ยินดี เป็นต้น. (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/258/11 66/239/17 |
74 | [๖๙๘] ภาระ 3 อย่าง คือ ขันธภาระ กิเลสภาระ อภิสังขารภาระ .(มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/259/13 66/240/14 |
75 | [๖๙๘] มุนี มี 6 จำพวก คือ อาคารมุนี อนาคารมุนี เสขมุนี อเสขมุนี ปัจเจก-มุนี มุนิมุนี (มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/261/20 66/242/16 |
76 | ตัณหาที่บุคคลเสพเป็นอาจิณ ย่อมเพิ่มความทะเยอทะยานหนักขึ้น ไม่เพียงความอยากอย่างเดียว แม้ความหวั่นไหวก็ย่อมมีในเพราะวัตถุทั้งหลายที่กำหนดไว้แล้ว (อ.มหาวิยูหสุตตนิทเทส) 66/270/6 66/250/24 |
77 | [๗๐๑] ปุจฉา 3 อย่าง 12 หมวด (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/277/6 66/258/10 |
78 | [๗๐๑] พระพุทธเจ้าปรากฏโดยโคตรพระอาทิตย์ (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/279/22 66/260/19 |
79 | [๗๐๕] "ภิกษุพึงกำจัดบาปธรรมทั้งปวง คือ กิเลสที่เป็นรากเหง้าแห่งส่วนธรรมเครื่องเนิ่นช้า และอัสมิมานะ ด้วยปัญญา ก็ตัณหาอย่างใดอย่างหนึ่งที่มี ณ ภายในภิกษุพึงเป็นผู้มีสติศึกษาเพื่อกำจัดซึ่งตัณหาเหล่านั้นในกาลทุกเมื่อ".(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/284/1 66/265/1 |
80 | [๗๐๘] คำว่า ภิกษุ พึงเป็นผู้มีสติในกาลทุกเมื่อ (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/287/8 66/268/2 |
81 | [๗๐๙] " ภิกษุพึงรู้คุณธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นภายในหรือภายนอก ไม่พึงทำความถือตัวด้วยคุณธรรมนั้น เพราะการทำความถือตัวนั้น อันผู้สงบทั้งหลายไม่กล่าวว่าเป็นความดับกิเลส "(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/290/15 66/271/3 |
82 | [๗๑๓] " ภิกษุไม่พึงสำคัญว่าดีกว่าเขา ว่าต่ำกว่าเขา หรือแม้ว่าเสมอเขา ด้วยคุณธรรมนั้น ภิกษุผู้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมเป็นอเนก ไม่พึงกำหนดตนดำรงอยู่" (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/292/15 66/272/22 |
83 | [๗๑๘] " ภิกษุพึงสงบกิเลส เป็นภายในนี้แหละ ไม่พึงแสวงหาความสงบโดยทางอื่นเมื่อภิกษุสงบกิเลสเป็นภายในแล้ว อัตตทิฏฐิ หรือนิรัตตทิฏฐิ ย่อมไม่มีแต่ที่ไหนๆ"(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/294/1 66/273/25 |
84 | [๗๒๘] พระพุทธเจ้า มีพระจักษุ แจ่มแจ้งด้วยพระจักษุ 5 ประการ คือ มังสจักษุทิพยจักษุ ปัญญาจักษุ พุทธจักษุ สมันตจักษุ (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/298/6 66/278/6 |
85 | [๗๒๘] พระพุทธเจ้าตรัสบอกกรรมฐานที่เหมาะแก่จริตทั้ง 6 (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/304/8 66/283/15 |
86 | [๗๒๘] สิ่งอะไรๆ ในไตรโลกธาตุอันพระปัญญาจักษุของพระตถาคตนั้นไม่เห็นย่อมไม่มี (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/305/10 66/284/14 |
87 | [๗๒๙] อันตราย 2 อย่าง คือ อันตรายปรากฏ อันตรายปกปิด , ที่ชื่อว่า อันตรายเพราะอรรถว่า ครอบงำเป็นไปเพื่อความเสื่อม เป็นที่อยู่แห่งอกุศลธรรมทั้งหลาย.(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/306/5 66/285/9 |
88 | [๗๒๙] ความโลภ ความโกรธ ความหลง ย่อมครอบงำนรชนในขณะใด ความมืดตื้อย่อมมีในขณะนั้น(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/310/5 66/288/12 |
89 | [๗๒๙] " ราคะและโทสะมีอัตภาพนี้เป็นเหตุ เกิดแต่อัตภาพนี้ ไม่ยินดีกุศล ยินดีแต่กามคุณ ทำให้ขนลุก วิตกทางใจ ตั้งขึ้นแต่อัตภาพนี้แล้วผูกจิตไว้ เหมือนพวกเด็กผูกกาที่ข้อเท้าไว้ฉะนั้น" (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/311/16 66/289/19 |
90 | [๗๓๒] " ภิกษุไม่พึงเป็นผู้โลเลด้วยจักษุทั้งหลาย พึงป้องกันหูจากคามกถา ไม่พึงติดใจในรส ไม่พึงยึดถือ สังขารอะไรๆ ว่าของเราในโลก" (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/313/10 66/291/6 |
91 | [๗๓๓] ภิกษุเป็นผู้โลเลด้วยจักษุอย่างไร ?(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/313/14 66/291/10 |
92 | [๗๓๔] ติรัจฉานกถา 32 ประการ(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/315/21 66/293/8 |
93 | [๗๓๗] " ภิกษุพึงเป็นผู้ถูกผัสสะกระทบเข้าแล้ว เมื่อใด เมื่อนั้นไม่พึงทำความรำพันในที่ไหนๆ ไม่พึงปรารถนาภพ และไม่พึงหวั่นไหวในเพราะความขลาดกลัว".(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/318/11 66/295/19 |
94 | [๗๓๘] โรคต่าง ๆ(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/318/16 66/296/3 |
95 | [๗๔๒] " ภิกษุได้แล้วซึ่งข้าวก็ดี น้ำก็ดี ของควรเคี้ยวก็ดี ผ้าก็ดี ไม่ควรทำการสั่งสม เมื่อไม่ได้ข้าวเป็นต้นนั้น ก็ไม่พึงสะดุ้ง" (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/321/4 66/298/6 |
96 | [๗๔๓] คำว่าน้ำ ได้แก่ ปานะ 8 อย่าง คือ น้ำผลมะม่วง น้ำผลหว้า น้ำผลกล้วยมีเมล็ด น้ำผลกล้วยไม่มีเมล็ด น้ำผลมะซาง น้ำผลจันทน์ น้ำผลลิ้นจี่ .(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/321/9 66/298/12 |
97 | [๗๔๖] " ภิกษุพึงเป็นผู้มีฌาน ไม่พึงเป็นผู้โลเล เพราะเท้าพึงเว้นขาดจากความคะนอง ไม่พึงประมาท และพึงอยู่ในที่นั่ง ในที่นอน ที่มีเสียงน้อย".(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/323/12 66/300/13 |
98 | [๗๔๗] ภิกษุไม่พึงเป็นผู้โลเลเพราะเท้า (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/324/12 66/301/9 |
99 | [๗๔๘] ความรำคราญ ความเดือดร้อนจิต ความกลุ้มใจ ย่อมเกิดขึ้นเพราะเหตุ2 ประการ คือ เพราะกระทำ และไม่กระทำ (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/326/6 66/303/3 |
100 | [๗๕๐] " ภิกษุไม่พึงทำความหลับให้มาก พึงมีความเพียรซ่องเสพความเป็นผู้ตื่นพึงละเว้นความเกียจคร้าน ความลวง ความหัวเราะ การเล่น เมถุนธรรมอันเป็นไปกับด้วยการประดับ" (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/329/20 66/306/3 |
101 | [๗๕๑] ภิกษุพึงแบ่งกลางคืน และกลางวันให้เป็น 6 ส่วน แล้วตื่นอยู่ 5 ส่วน นอนหลับ 1 ส่วน (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/330/4 66/306/8 |
102 | [๗๕๓] ความลวง คือ กริยาที่ปกปิดความผิด ด้วยไม่อยากให้ผู้อื่นรู้ .(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/331/10 66/307/13 |
103 | [๗๕๓] ความหัวเราะเกินประมาณจนฟันปรากฏนี้เป็นกิริยาของเด็ก ในอริยวินัย.(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/332/4 66/308/1 |
104 | [๗๕๔] " ภิกษุผู้นับถือ ไม่พึงประกอบการทำอาถรรพณ์ การทำนายฝัน การทายลักษณะ และการดูฤกษ์ ไม่พึงซ่องเสพการทายเสียงสัตว์ร้อง การปรุงยาให้ตั้ง-ครรภ์ และการรักษาโรค" (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/334/19 66/310/12 |
105 | [๗๕๖] การรักษาโรค 5 อย่าง คือ รักษาทางตา ผ่าตัด ทางยา ทางภูตผี รักษาทางกุมาร (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/338/2 66/313/2 |
106 | [๗๕๖] ภิกษุเหล่าใดเป็นผู้หลอกลวง กระด้าง พูดเหลาะแหละ ชอบตกแต่ง มีมานะสูง เหมือนไม้อ้อ ไม่มีสมาธิ ภิกษุเหล่านั้น ชื่อว่าเป็นผู้ไม่นับถือเรา เป็นผู้ปราศไปจากธรรมวินัยนี้ และย่อมไม่ถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ในธรรมวินัยนี้.(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/338/7 66/313/7 |
107 | [๗๕๗] " ภิกษุไม่พึงหวั่นไหวในเพราะความนินทา ถูกเขาสรรเสริญแล้วไม่พึงฟูขึ้นพึงบรรเทาความโลภ พร้อมกับความตระหนี่ ความโกรธ และการพูดส่อเสียด".(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/339/17 66/314/13 |
108 | [๗๖๐] ชื่อว่า ความโกรธ คือ ความปองร้าย ความมุ่งร้าย ความขัดเคือง ความขุ่นเคือง ฯลฯ (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/341/4 66/315/19 |
109 | [๗๖๑] " ภิกษุไม่พึงตั้งอยู่ในการซื้อการขาย ไม่พึงทำกิเลสเป็นเครื่องค่อนขอดในที่ไหนๆ ไม่พึงเกี่ยวข้องในบ้าน และไม่พึงพูดเลียบเคียงกะชน เพราะความอยากได้ลาภ" (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/342/13 66/317/8 |
110 | [๗๖๕] การพูดเลียบเคียง. (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/345/18 66/320/7 |
111 | [๗๖๖] " ภิกษุไม่พึงเป็นผู้พูดโอ้อวด ไม่พึงกล่าววาจามุ่งได้ ไม่พึงศึกษาความเป็นผู้คะนอง และไม่พึงกล่าวถ้อยคำแก่งแย่ง" (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/347/18 66/322/2 |
112 | [๗๖๘] ภิกษุแสดงธรรมแก่ชนทั้งหลาย ด้วยคิดว่า เขาฟังธรรมของเรา แล้วพึงเลื่อมใสและพึงทำอาการของคนผู้เลื่อมใสต่อเรา วาจานี้ก็เรียกว่า วาจามุ่งได้.(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/349/8 66/323/10 |
113 | [๗๖๙] ความคะนอง 3 อย่าง คือ ความคะนอง ทางกาย ทางวาจา ทางใจ.(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/349/20 66/323/22 |
114 | [๗๗๑] " ภิกษุพึงเว้นจากความพูดเท็จ เมื่อรู้สึกตัว ไม่พึงทำความโอ้อวด อนึ่งภิกษุไม่พึงดูหมิ่นผู้อื่นด้วยความเป็นอยู่ด้วยปัญญา ด้วยศีลและวัตร" .(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/355/6 66/328/20 |
115 | [๗๗๒] มุสาวาท ย่อมมีด้วยอาการ 3 อย่าง (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/355/14 66/329/6 |
116 | [๗๗๕] " ภิกษุถูกประทุษร้าย ได้ฟังวาจามากของพวกสมณะหรือของพวกคนผู้มีถ้อยคำมาก ไม่พึงโต้ตอบกะคนเหล่านั้นด้วยคำหยาบ เพราะภิกษุผู้สงบ ย่อมไม่ทำผู้อื่นให้เป็นศัตรู" (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/358/19 66/332/5 |
117 | [๗๗๙] " ก็ภิกษุรู้ธรรมนั้นแล้วค้นคว้าอยู่ พึงเป็นผู้มีสติ ศึกษาในกาลทุกเมื่อภิกษุรู้ความดับว่าเป็นความสงบแล้ว ไม่พึงประมาทในศาสนาของพระโคดม".(ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/360/17 66/333/23 |
118 | [๗๘๖] คำว่าได้เห็นแล้ว ซึ่งสักขิธรรมโดยไม่ต้องเชื่อผู้อื่น ได้แก่ ได้เห็น เห็นทั่วพบเห็น แทงตลอดแล้วซึ่งธรรมที่ประจักษ์แก่ตน อันตนรู้ยิ่งเอง มิใช่โดยต้องเชื่อต่อผู้อื่นว่าธรรมนี้เป็นดังนี้ (ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/363/20 66/336/22 |
119 | สำหรับคนมีอายุ 100 ปี ในวัยหนึ่งๆ ก็มีอายุ 33 ปี กับ 4 เดือน (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/370/4 66/342/22 |
120 | การขอขมา เมื่อติเตียนพระอริยเจ้า (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/378/11 66/351/4 |
121 | ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่เห็นธรรมอื่นแม้สักอย่างเดียว ที่มีโทษมากเหมือนมิจฉาทิฏฐินี้เลย (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/380/10 66/352/24 |
122 | อธิบายคำว่า อบาย ทุคติ วินิบาต นรก. (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/380/16 66/353/6 |
123 | เปรียบเทียบ เมล็ดพันธุ์ผักกาดเต็มในแสนโกฏิจักรวาล หากมีใครเอาเมล็ดพันธุ์ผักกาดเมล็ดหนึ่งใส่ในจักรวาลหนึ่งๆ ทางทิศตะวันออก เมล็ดพันธุ์ผักกาดหมดสิ้นแล้ว จักรวาลทางทิศตะวันออกยังไม่สิ้น (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/383/17 66/355/23 |
124 | บุคคล 4 จำพวก คือ อุคฆติตัญญู วิปจิตัญญู เนยยะ ปทปรมะ .(อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/385/12 66/357/17 |
125 | ลักษณะแห่งจริตทั้ง 6 (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/386/4 66/358/8 |
126 | สัพพัญญู รู้สิ่งทั้งปวง คือ พึงถึงความเป็นผู้รู้สิ่งทั้งปวง 5 อย่าง คือ รู้สิ่งทั้งปวงตามลำดับ , รู้สิ่งทั้งปวงคราวเดียว , รู้สิ่งทั้งปวงเนืองๆ , รู้สิ่งทั้งปวงตามความสามารถ , รู้สิ่งทั้งปวงที่รู้แล้ว (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/389/6 66/360/25 |
127 | สมาธินั้น มีความไม่ฟุ้งซ่านเป็นลักษณะ มีความกำจัดความฟุ้งซ่านเป็นรส มีความไม่หวั่นไหว เป็นเครื่องปรากฏ มีความสุข ความเจริญเป็นปทัฏฐาน..(อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/392/11 66/363/26 |
128 | เมื่อใดรูปารมณ์มาสู่คลองจักษุ ความไม่สำรวม หรือความสำรวมย่อมไม่มีในสมัยแห่งภวังคจิต (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/395/20 66/367/6 |
129 | การเล่นหน้าศพ (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/397/14 66/368/23 |
130 | คำพูดอันเป็นเครื่องปิดกั้นทางไปสวรรค์ และทางแห่งความหลุดพ้น ชื่อว่า ติรัจฉานกถา (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/399/2 66/370/7 |
131 | เมื่อทำน้ำผลมะม่วงด้วยผลดิบ ควรผ่าผลมะม่วงอ่อนแล้วแช่น้ำผึ่งแดด กรองแล้วผสมน้ำผึ้ง น้ำตาลกรวด และการบูร เป็นต้น ส่วนน้ำผลมะซางนั้นควรผสมน้ำน้ำผลมะซางล้วนๆ ไม่ควร (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/403/15 66/374/25 |
132 | วินิจฉัย การให้ ไม้ ไม้ไผ่ ใบไม้ ดอกไม้ ผลไม้ ดินเหนียว และไม้สีฟัน ที่เป็นของสงฆ์. (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/406/1 66/377/2 |
133 | ภิกษุนำสาสน์ของผู้บำรุงมารดา บิดา แล้วไปส่งให้มารดาบิดา หรือ นำสาสน์ของช่างไม้ผู้กระทำการงานแก่เจดีย์ แก่สงฆ์ แก่ตน ก็ควร. (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/412/1 66/382/17 |
134 | ภิกษุควรปรุงยาให้แก่ใครบ้าง (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/412/10 66/383/2 |
135 | วินิจฉัยในการสะสมข้าว ผ้า รองเท้า ที่นอน เครื่องหอม และอื่นๆ โดยทางวินัย และโดยทางขัดเกลากิเลส (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/413/14 66/384/1 |
136 | การนอน 4 อย่าง , การนอนด้วยจตุตถฌาน เรียกว่า พระตถาคตนอน..(อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/419/9 66/389/12 |
137 | อารัมภศัพท์ มาในเนื้อความไม่น้อย คือ ในกรรม อาบัติ กิริยา วิริยะ ความเบียดเบียน การทำร้าย (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/421/7 66/391/4 |
138 | การเล่นตีกลองปาก. (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/425/20 66/395/26 |
139 | กลิ่นกายของทารก ที่เกิดจากครรภ์มารดา จะหมดไปในเมื่อ อายุได้ประมาณ12 ปี (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/426/12 66/396/19 |
140 | ผู้ฝันย่อมฝันด้วยเหตุ 4 ประการ , ฝันโดยเทวดาดลใจ นั้นจริงบ้างไม่จริงบ้างเพราะเทวดาโกรธประสงค์จะให้ถึงความพินาศโดยอุบาย ก็แสดงทำให้วิปริต.(อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/429/11 66/399/18 |
141 | ครรภ์ย่อมแท้งด้วยเหตุ 3 ประการ (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/432/12 66/402/16 |
142 | วินิจฉัยในวิตกถึงญาติเป็นต้น (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/435/3 66/405/5 |
143 | [๗๘๙-๗๙๐] ทุกข์ภัย เกิดแต่การกระทำของตนเอง. (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/443/2 66/413/4 |
144 | [๗๙๐] พระราชาย่อมสั่งให้ลงกรรมกรณ์ต่างๆ (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/444/9 66/414/15 |
145 | [๗๙๐] นายนิรยบาลย่อมให้ทำกรรมกรณ์ อันมีเครื่องจองจำ 5 กะสัตว์นรก.(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/445/11 66/415/10 |
146 | [๗๙๐] มหานรก (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/446/14 66/416/10 |
147 | [๗๙๔] " ภัยเข้ามาถึงแล้ว เพราะเห็นหมู่สัตว์ดิ้นรนอยู่ เหมือนปลาทั้งหลายดิ้นรน อยู่ในที่มีน้ำน้อย และเพราะเห็นสัตว์ทั้งหลายทำร้ายกัน และกัน" (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/449/8 66/418/18 |
148 | [๗๙๕] หมู่สัตว์ดิ้นรนอยู่ด้วยประการต่างๆ (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/449/12 66/418/22 |
149 | [๗๙๙] " โลกทั้งหมดไม่เป็นแก่นสาร สังขารทั้งหลายหวั่นไหวแล้วตลอดทิศทั้งปวงเมื่อเราปรารถนาความเจริญเพื่อตนไม่ได้เห็นซึ่งฐานะ อะไรๆ อันไม่ถูกครอบงำ"(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/452/14 66/421/15 |
150 | [๘๐๓] " ธรรมในหมู่มนุษย์เหล่านี้ คือ ลาภ ความเสื่อมลาภ ยศ ความเสื่อมยศนินทา สรรเสริญ สุข ทุกข์ เป็นของไม่เที่ยง ไม่มั่นคง มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา" (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/455/13 66/424/8 |
151 | [๘๐๔] " เพราะได้เห็นที่สิ้นสุด ที่สกัดกั้น เราจึงได้มีความไม่ยินดี อนึ่งเราได้เห็นลูกศรอันเห็นได้ยาก อาศัยหทัยในสัตว์ทั้งหลายนั้น. (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/456/1 66/424/18 |
152 | [๘๐๙] " สัตว์อันลูกศรใดปักติดแล้ว ย่อมแล่นพล่านไปสู่ทิศทั้งปวง เพราะถอนลูกศรนั้นเสียแล้ว ย่อมไม่แล่นไป ย่อมไม่ล่มจม" (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/458/1 66/426/11 |
153 | [๘๑๐] ลูกศร 7 ประการ ที่ปักติดใจสัตว์ คือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิความโศก ความสงสัย (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/458/5 66/426/16 |
154 | [๘๑๓] " ชนทั้งหลายย่อมกล่าวถึงการศึกษา ในเพราะกามคุณเป็นที่พัวพันในโลกบุคคลพึงเป็นผู้ไม่ขวนขวายในการศึกษา หรือในกามคุณเหล่านั้น รู้ชัดกามทั้ง-หลาย โดยประการทั้งปวงแล้ว พึงศึกษาความดับของตน" (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/467/10 66/434/22 |
155 | [๘๑๘] " บุคคลพึงเป็นผู้มีสัจจะ ไม่คะนอง ไม่มีมายา ปราศจากคำส่อเสียดมุนีไม่พึงมีความโกรธ พึงข้ามพ้นความโลภอันลามก และความหวงแหน" 66/469/17 66/437/6 |
156 | [๘๒๒] " นรชนพึงปราบความหลับ ความเกียจคร้าน ความย่อท้อ ไม่พึงอยู่ด้วยความประมาท ไม่พึงตั้งอยู่ในความดูหมิ่น พึงเป็นผู้มีใจน้อมไปในนิพพาน".(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/472/6 66/439/17 |
157 | [๘๒๖] บัณฑิตทำบุญต้องมุ่งนิพพาน. (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/474/5 66/441/11 |
158 | [๘๒๗] " นรชนพึงออกจากความพูดเท็จ ไม่พึงทำความเสน่หาในรูป พึงกำหนดรู้มานะ และพึงประพฤติเว้นจากความผลุนผลัน" (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/475/17 66/442/22 |
159 | [๘๓๐] มานะลักษณะต่างๆ(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/477/2 66/444/2 |
160 | [๘๓๒-๘๓๖] " ไม่พึงยินดีสังขารเก่า ไม่พึงทำความชอบใจในสังขารใหม่ เมื่อสังขารเสื่อมไป ก็ไม่พึงเศร้าโศก ไม่พึงเป็นผู้อาศัยกิเลสเครื่องเกี่ยวข้อง".(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/479/18 66/446/22 |
161 | [๘๓๗] " เราย่อมกล่าวความกำหนัดว่า เป็นห้วงน้ำใหญ่ กล่าวความว่องไว (อาชวะ) ว่า เป็นความปรารถนากล่าวอารมณ์ว่า เป็นความหวั่นไหว เปือกตมคือกามเป็นสภาพ ล่วงได้โดยยาก" (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/481/16 66/448/19 |
162 | [๘๔๒] " ผู้เป็นมุนีไม่ก้าวล่วงจากสัจจะ เป็นพราหมณ์ตั้งอยู่บนบก ผู้นั้นสลัดสิ่งทั้งปวง ผู้นั้นแลเรากล่าวว่า เป็นผู้สงบ" (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/483/10 66/450/13 |
163 | [๘๔๗] " ผู้นั้นแลมีความรู้ เป็นเวทคู รู้ธรรมแล้วไม่อาศัย ผู้นั้นอยู่ในโลกโดยชอบย่อมไม่ใฝ่ฝันต่อใครในโลกนี้" (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/485/11 66/452/13 |
164 | [๘๕๒] " ผู้ใดข้ามพ้นกามทั้งหลาย และเครื่องข้อง ที่ล่วงได้โดยยากในโลก ผู้นั้นย่อมไม่เศร้าโศกย่อมไม่เพ่งเล็ง เป็นผู้มีกระแสอันตัดเสียแล้ว มิได้มีเครื่องผูก".(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/487/13 66/454/11 |
165 | [๘๕๖] " กิเลสชาตที่พึงเกิดขึ้น เพราะปรารภถึงสังขารในกาลก่อน ท่านจงให้เหือดหายไปเสีย กิเลสชาตเครื่องกังวลที่พึงเกิดขึ้น เพราะปรารภถึงสังขารในภายหลังอย่าได้มีแก่ท่าน ถ้าท่านจักไม่ถือเอาสังขารในท่ามกลาง ท่านจักเป็นผู้เข้าไปสงบประพฤติไป" (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/489/15 66/456/13 |
166 | [๘๖๑] " ความถือว่าของเราในนามรูป ย่อมไม่มีแก่ผู้ใด โดยประการทั้งปวง และผู้ใดย่อมไม่เศร้าโศก เพราะสิ่งที่ ถือว่าของเราไม่มีอยู่ ผู้นั้นย่อมไม่เสื่อมในโลก".(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/491/17 66/458/8 |
167 | [๘๖๕] " ความกังวลอะไรๆ ว่า สิ่งนี้ของเรา หรือว่าสิ่งนี้ของคนเหล่าอื่น ย่อมไม่มีแก่ผู้ใด ผู้นั้นเมื่อไม่ได้ความถือว่าของเรา ก็ไม่เศร้าโศกว่าสิ่งนี้ย่อมไม่มีแก่เรา".(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/495/6 66/461/13 |
168 | [๘๖๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กายนี้ไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย ทั้งไม่ใช่ของคนเหล่าอื่น กายนี้ อันกรรมเก่าควบคุมแล้ว อันจิตประมวลเข้าแล้ว ท่านทั้งหลายพึงเห็นว่าเป็นที่ตั้งแห่งเวทนา (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/495/19 66/462/2 |
169 | [๘๖๖] " ดูก่อนคามณี เมื่อบุคคลเห็นความเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมล้วนและความสืบต่อแห่งสังขารล้วนตามเป็นจริง ภัยก็ไม่มี เมื่อใดบุคคลเห็นขันธโลกเสมอด้วยหญ้า และไม้ด้วยปัญญา เมื่อนั้นบุคคลนั้นก็ไม่ปรารถนาอะไรๆ อื่นนอกจากนิพพานอันไม่มีปฏิสนธิ " (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/497/18 66/463/19 |
170 | [๘๖๖] โลกสูญ เพราะสูญจากตน หรือจากสิ่งที่เนื่องด้วยตน. (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/498/18 66/464/19 |
171 | [๘๖๙] " บุคคลเป็นผู้ไม่ริษยา ไม่ตามติดใจ ไม่หวั่นไหว เป็นผู้เสมอในอายตนะทั้งปวง เราถูกถามถึงบุคคลผู้ไม่มี ความหวั่นไหว ก็บอกอานิสงส์นั้น".(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/500/8 66/466/4 |
172 | [๘๗๓] " อภิสังขาร อะไรๆ ย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้ไม่หวั่นไหว รู้แจ้งอยู่ บุคคลนั้นงดเว้นแล้วจากอภิสังขาร ย่อมเห็นความปลอดโปร่งในที่ทั้งปวง"(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส).(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/502/17 66/468/12 |
173 | [๘๗๕]ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร อาเนญชาภิสังขาร เรียกว่า อภิสังขาร.(อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/503/11 66/469/5 |
174 | [๘๗๘] " มุนีย่อมไม่พูดถึงตนในพวกคนที่เสมอกันในพวกคนที่ต่ำกว่ากัน ในพวกคนที่สูงกว่า มุนีนั้นเป็นผู้สงบ ผู้ปราศจากความตระหนี่ ย่อมไม่ยึดถือ ย่อมไม่สลัด." (อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/504/15 66/470/8 |
175 | มหานรก ชื่อ อเวจี เพราะไม่มีคลื่นในระหว่างของเปลวไฟ (อ.อัตตทัณฑสุตตนิทเทส) 66/510/4 66/475/24 |
176 | [๘๘๖] เสียงของพระพุทธเจ้าประกอบด้วยองค์ 8 (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/531/9 66/497/9 |
177 | [๘๙๐] " สัตบุรุษทั้งหลายย่อมปรากฏในที่ไกล เหมือนภูเขาหิมวันต์ฉะนั้น อสัต-บุรุษทั้งหลายย่อมไม่ปรากฏในที่นั้น เหมือนลูกศรที่ยิงไปในกลางคืนฉะนั้น".(สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/536/6 66/502/3 |
178 | [๘๙๐] พระพุทธเจ้ามีพระจักษุด้วยจักษุ 5 ประการ (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/536/12 66/502/9 |
179 | [๘๙๐] ทรงตรัสอสุภกถาแก่บุคคลราคจริต , ตรัสเมตตาภาวนาแก่ผู้โทสจริต ,ตรัสอานาปานสติแก่ผู้วิตกจริต. (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/542/18 66/507/20 |
180 | [๘๙๒] " บุรุษมีตัณหาเป็นเพื่อน แล่นไปสู่ความเป็นอย่างนี้ และความเป็นอย่างอื่นตลอดกาลนาน ไม่ล่วงพ้นสงสารไปได้ ภิกษุรู้จักโทษนี้ รู้จักตัณหาเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ จึงเป็นผู้ปราศจากตัณหา ไม่มีความยึดถือ มีสติพึงเว้นรอบ".(สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/546/10 66/510/22 |
181 | [๘๙๒] สติปัฏฐาน 4 สัมมัปปธาน 4 อิทธิบาท 4 อินทรีย์ 5 พละ 5 โพชฌงค์ 7อริยมรรคมีองค์ 8 เรียกว่า เอกายนมรรค (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/547/4 66/511/11 |
182 | [๘๙๕] ความอาศัยด้วยทิฏฐิเป็นไฉน ? (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/550/21 66/514/20 |
183 | [๘๙๖] พระพุทธเจ้าชื่อว่า เป็นผู้คงที่ โดยอาการ 5 (สารีปุตตสุตตนิทเทส)ง 66/551/21 66/515/18 |
184 | [๘๙๗] วัตถุแห่งความหลอกลวง 3 อย่าง คือ ด้วยการซ่องเสพปัจจัย ด้วยอิริยาบท ด้วยการพูดเลียบเคียง. (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/555/18 66/519/3 |
185 | [๙๑๒] ความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบงำนรชนใด ความมืดตื้อย่อมมีในขณะนั้น. (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/568/20 66/530/15 |
186 | [๙๑๒] " ราคะและโทสะ มีอัตภาพนี้เป็นเหตุ เกิดแต่อัตภาพนี้ ไม่ยินดีกุศลยินดีแต่กามคุณ ทำให้ขนลุกขนพอง บาปวิตกในใจตั้งขึ้นแต่อัตภาพนี้แล้วผูกจิตไว้ เหมือนพวกเด็กผูกกาไว้ที่ข้อเท้า ฉะนั้น" (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/570/10 66/531/23 |
187 | [๙๑๗] ความบริสุทธิ์แห่งวาจาเป็นไฉน ? (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/572/5 66/533/13 |
188 | [๙๑๘] อโคจรเป็นไฉน ? (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/573/13 66/534/19 |
189 | [๙๑๘] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อเธอทั้งหลายเที่ยวไปในแดนเป็นของบิดาของตนซึ่งเป็นโคจรมารย่อมไม่ได้ช่อง ไม่ได้อารมณ์ (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/576/16 66/537/10 |
190 | [๙๑๙] ศีลและวัตร เป็นไฉน ? เป็นวัตรแต่ไม่เป็นศีลเป็นไฉน ? (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/577/13 66/538/6 |
191 | [๙๒๐] การอบรมตน (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/579/18 66/540/4 |
192 | [๙๓๐] " ภิกษุผู้เป็นธีรชน มีสติ ประพฤติในธรรมเป็นส่วนสุดรอบ ไม่พึงกลัวต่อภัย 5 ประการ คือ ตัวเหลือบ สัตว์ไต่ตอม สัตว์เลื้อยคลาน สัมผัสแต่มนุษย์และภัยแต่สัตว์สี่เท้า" (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/587/14 66/547/8 |
193 | [๙๓๒] ประพฤติธรรมเป็นส่วนสุดรอบ มี 4 ประการ คือ ศีลสังวร อินทรีสังวรโภชเนมัตตัญญุตา ชาคริยานุโยค (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/588/13 66/548/4 |
194 | [๙๓๕] " ภิกษุไม่พึงหวาดเสียว แม้ต่อคนที่ตั้งอยู่ในธรรมอื่น แม้เห็นอารมณ์อันให้เกิดความขลาดมากของคนที่ตั้งอยู่ในธรรมอื่นนั้น ก็ไม่พึงหวาดเสียว อนึ่งภิกษุทั้งหลายผู้แสวงหากุศล พึงย่ำยีอันตรายอื่นๆ" (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/591/17 66/551/2 |
195 | [๙๓๘] " ภิกษุถูกผัสสะ คือ โรค และความหิวกระทบแล้ว พึงอดทนความหนาวและความร้อน ภิกษุนั้นอันผัสสะเหล่านั้นกระทบแล้ว โดยอาการมากอย่าง เป็นผู้ไม่เปิดโอกาส พึงทำความบากบั่น คือ ความเพียรให้มั่นไว้" (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/593/13 66/552/19 |
196 | [๙๔๐] ความหนาวย่อมมีด้วยเหตุ 2 อย่าง คือ ธาตุน้ำภายในกำเริบ ฤดูภายนอก.(สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/594/6 66/553/11 |
197 | [๙๔๓] " ภิกษุไม่พึงทำความเป็นขโมย ไม่พึงพูดเท็จ พึงแผ่เมตตาไปยังสัตว์ทั้งที่สะดุ้งและผู้มั่นคง เมื่อใดภิกษุพึงรู้ความขุ่นใจ เมื่อนั้นพึงบรรเทาเสียซึ่งความขุ่นใจด้วยมนสิการว่า นี่เป็นฝักฝ่ายแห่งมารผู้มีกรรมดำ" (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/596/3 66/555/4 |
198 | [๙๔๕] การแผ่เมตตา (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/596/17 66/555/18 |
199 | [๙๔๗] ผู้ให้สัตว์ตาย ผู้มีกรรมดำ ผู้เป็นใหญ่ ผู้ให้สัตว์ถึงความตาย ผู้ไม่ให้สัตว์พ้นไป ผู้เป็นเผ่าพันธุ์แห่งผู้ประมาท ชื่อว่า ผู้มีกรรมดำ (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/598/7 66/557/3 |
200 | [๙๔๘] " ภิกษุไม่พึงลุอำนาจแห่งความโกรธและความดูหมิ่น พึงขุดรากความโกรธ และความดูหมิ่นนั้น ดำรงอยู่ อนึ่ง ภิกษุเมื่อปราบก็พึงปราบที่รัก และที่เกลียดชังเสียโดยแท้" (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/599/7 66/557/24 |
201 | [๙๕๐] รากแห่งความโกรธและความดูหมิ่น คือ อวิชชา อโยนิโสมนสิการ อัสมิ-มานะ (การถือเราถือเขา) ความไม่ละอาย ความไม่สะดุ้งกลัวบาป(แต่ละอย่าง).(สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/600/2 66/558/16 |
202 | [๙๕๒] " ภิกษุทำปัญญาไว้เบื้องหน้า มีปีติงาม พึงข่มอันตรายเหล่านั้น พึงปราบความไม่ยินดีในที่นอนอันสงัด พึงปราบธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความรำพัน 4 อย่าง".(สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/601/19 66/560/16 |
203 | [๙๖๓] คำว่า ทำปัญญาไว้เป็นเบื้องหน้า (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/602/2 66/560/23 |
204 | [๙๕๗] " เราจักฉันอะไร เราจักฉันที่ไหน วันนี้เรานอนลำบากหนอ พรุ่งนี้เราจักนอนที่ไหน ภิกษุผู้เสขะ พึงบำบัดเสีย ซึ่งวิตกเหล่านี้อันเป็นที่ตั้งแห่งความรำพันพึงเป็นผู้ไม่มีกังวลท่องเที่ยวไป" (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/604/11 66/562/24 |
205 | [๙๖๓] " ภิกษุนั้นในธรรมวินัย ได้อาหารและเครื่องนุ่งห่มในกาล พึงรู้จักประมาณเพื่อสันโดษ ภิกษุนั้นสำรวมในปัจจัยเหล่านั้น เป็นผู้สำรวมเที่ยวไปในบ้าน แม้ถูกเขาด่าก็ไม่ควรกล่าววาจาหยาบ" (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/607/17 66/566/6 |
206 | [๙๖๕] ความรู้จักประมาณ 2 อย่าง คือ รู้จักประมาณโดยการรับ รู้จักประมาณในการบริโภค (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/609/3 66/567/9 |
207 | [๙๖๙] " ภิกษุพึงเป็นผู้สำรวมจักษุ ไม่พึงเป็นผู้โลเลเพราะเท้า พึงเป็นผู้ขวนขวายในฌาน พึงเป็นผู้ตื่นอยู่มาก พึงเป็นผู้ปรารภอุเบกขามีจิตตั้งมั่น และพึงเข้าไปตัดความตรึกธรรมที่อาศัยอยู่แห่งความตรึก และความรำคาญ" (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/613/7 66/571/7 |
208 | [๙๗๔] ความตรึก 9 อย่าง (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/618/4 66/575/13 |
209 | [๙๗๕] " ภิกษุถูกตักเตือนด้วยวาจา พึงเป็นผู้มีสติชอบใจ พึงทำลายความเป็นผู้กระด้างในสพรหมจารีทั้งหลาย พึงเปล่งวาจาอันเป็นกุศล ไม่พึงเปล่งวาจาเกินขอบเขต ไม่พึงคิดเพื่อธรรม คือ การว่ากล่าวซึ่งชน" (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/620/11 66/577/16 |
210 | [๙๗๖] พึงเห็นผู้แสดงโทษ กล่าวข่มขี่ มีปัญญา ว่าเป็นเหมือนผู้ชี้บอกขุมทรัพย์ให้.(สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/621/11 66/578/12 |
211 | [๙๘๐] " ลำดับต่อไป ภิกษุพึงเป็นผู้มีสติศึกษา เพื่อกำจัดราคะเหล่าใด ราคะเหล่านั้น เป็นธุลี 5 ประการ ในโลก ภิกษุพึงปราบปราม ราคะในรูป เสียง กลิ่น รส และผัสสะ" (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/624/1 66/580/15 |
212 | [๙๘๑] คำว่า ธุลี เป็นชื่อของ ราคะ โทสะ โมหะ (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/624/12 66/581/3 |
213 | [๙๘๔] " ภิกษุเป็นผู้มีสติ มีจิตพ้นวิเศษดีแล้ว พึงกำจัดฉันทะในธรรมเหล่านั้นภิกษุนั้น เมื่อกำหนดพิจารณาธรรมโดยชอบตามกาล เป็นผู้มีจิตเป็นธรรมเอกผุดขึ้น พึงกำจัดความมืดเสีย พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่าดังนี้." (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/626/11 66/582/22 |
214 | [๙๘๖] คำว่า เป็นผู้มีจิตพ้นวิเศษดีแล้ว ความว่า จิตของภิกษุผู้เข้าปฐมฌาน พ้นวิเศษดีแล้วจากนิวรณ์ทั้งหลาย ฯลฯ (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/627/7 66/583/15 |
215 | [๙๘๗] เมื่อจิตฟุ้งซ่านเป็นกาลของสมถะ เมื่อจิตตั้งมั่นเป็นกาลของวิปัสสนา.(สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/628/11 66/584/15 |
216 | พุทโธ (อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/638/1 66/593/13 |
217 | ชื่อว่า เอกายนมรรค เพราะเป็นทางอันบุคคลเดียวพึงดำเนินไป .(อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/639/16 66/595/23 |
218 | จิตนี้ไปไกลเที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง มีถ้ำเป็นที่อาศัย ผู้ใดสำรวมจิตไว้ได้ผู้นั้นจะพ้นจากบ่วงมาร (อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/643/21 66/600/7 |
219 | มุสาวาทนั้นมีองค์ 4 คือ เรื่องไม่จริง จิตคิดจะพูดให้ผิด พยายามจะพูดเรื่องนั้นผู้อื่นรู้ความนั้น. (อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/646/19 66/603/6 |
220 | วาจาส่อเสียดนั้นมีองค์ 4 (อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/648/12 66/604/20 |
221 | วจีประโยค แม้ตัดส่วนสำคัญของร่างกาย ก็ไม่เป็นผรุสวาจา เพราะจิตละเอียด-อ่อน เช่น คำพูดของพ่อ แม่ ต่อบุตร คำพูดของอาจารย์และอุปัชฌาย์ ต่อลูกศิษย์.(อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/649/11 66/605/22 |
222 | ทางที่บุรุษบอกจะถูกก็ได้ ผิดก็ได้ แต่ทางที่พระตถาคตตรัสบอกไม่ผิดหวัง ย่อมประชุมลงสู่นิพพานนั่นเอง (อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/652/5 66/608/17 |
223 | อทินนาทานนั้นมีองค์ 5 คือ ของอันผู้อื่นหวงแหน รู้อยู่ว่าผู้อื่นหวงแหน จิตคิดจะขโมย พยายามที่จะขโมย นำไปได้ด้วยความพยายามนั้น (อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/662/9 66/619/1 |
224 | บริขาร 8 ใช้เพื่อบริหารกาย ทั้งเพื่อบริหารท้อง (อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/668/12 66/626/1 |
225 | คิลานปัจจัยเภสัชนั้น ชื่อว่า เป็นบริวารของชีวิตบ้าง เพราะป้องกัน ไม่ให้ช่องเพื่อเกิดอาพาธ อันจะทำความเสียหายแก่ชีวิต ชื่อว่าเป็นของใช้บ้างเพราะเป็นเหตุให้ชีวิตเป็นไปได้นาน (อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/672/16 66/629/20 |
226 | ภิกษุบางรูปเห็นความไม่สมควร หรือความผิดพลาดของลูกศิษย์ แล้วไม่ว่ากล่าวด้วยคิดว่าเขาอุปัฏฐากเรา หากว่ากล่าวเขา เขาก็ไม่อุปัฏฐากเรา ดังนี้ ชื่อว่า ภิกษุนั้นโปรยหยากเยื่อลงในศาสนานี้ (อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/679/5 66/636/4 |
227 | ภิกษุพึงทำลายความกระด้างแห่งจิต ในสิ่งทั้ง 5 คือ ในพระพุทธเจ้า ในพระธรรมในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเพื่อนพรหมจรรย์ (อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/680/17 66/637/15 |
228 | อุบายในการประคองจิต การข่มจิต การทำจิตให้ร่าเริง การวางเฉย.(อ.สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/682/3 66/639/4 |