1 | [๒] กาม 2 อย่าง คือ วัตถุกาม กิเลสกาม (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/1/12 65/1/13 |
2 | [๔] คำว่า ใจ คือ จิต มนะ มานัส หทัย บัณฑระ มนะ มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุ ที่เกิดแต่ผัสสะ เป็นต้นนั้น นี้เรียกว่า ใจ (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/3/18 65/3/17 |
3 | [๔] ความหมายของคำว่า สหรคต คือ เกิดร่วม เกี่ยวข้อง ประกอบ เกิดพร้อมกันดับพร้อมกัน มีวัตถุอย่างเดียวกัน มีอารมณ์อันเดียวกัน (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/3/21 65/3/19 |
4 | [๕] ความหมายของคำว่า สัตว์ (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/4/7 65/3/26 |
5 | [๖] " เมื่อสัตว์นั้นปรารถนากามอยู่ เมื่อสัตว์นั้นมีฉันทะเกิดแล้ว ถ้ากามเหล่านั้นเสื่อมไป สัตว์นั้นย่อมกระสับกระส่าย เหมือนสัตว์ที่ถูกลูกศรแทงแล้ว" .(กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/4/16 65/4/10 |
6 | [๑๑] " ผู้ใดย่อมเว้นขาดกามทั้งหลาย เหมือนบุคคลเว้นขาดหัวงูด้วยเท้า ผู้นั้นเป็นผู้มีสติ ย่อมล่วงพ้นตัณหาอันชื่อว่า วิสัตติกานี้ ในโลกเสียได้" (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/7/9 65/6/18 |
7 | [๑๒] " การเว้นขาดกามทั้งหลาย โดยเหตุ 2 ประการ คือ โดยการข่มไว้ โดยการตัดขาด " (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/8/2 65/7/7 |
8 | [๑๔] ตัณหา เรียกว่า วิสัตติกา ได้แก่ ความกำหนัด ความกำหนัดกล้า ความพอใจ ความชอบใจ ความเพลิดเพลิน เป็นต้น. (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/11/9 65/10/5 |
9 | [๑๔] ที่เรียกว่า เป็นผู้มีสติ (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/13/11 65/12/2 |
10 | [๑๗] ทาส 4 จำพวก (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/15/18 65/14/1 |
11 | [๑๘] พวกพ้อง 4 จำพวก (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/16/10 65/14/14 |
12 | [๑๙] คำว่า นรชน คือ สัตว์ นระ มาณพ บุรุษ บุคคล ผู้มีชีวิต ผู้เกิด สัตว์เกิดผู้มีกรรม มนุษย์ (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/17/1 65/15/1 |
13 | [๒๒] ความหมายของคำว่า อันตราย (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/19/10 65/17/5 |
14 | [๒๓] โรค และอาพาธต่างๆ (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/25/6 65/22/4 |
15 | [๒๕] " เพราะเหตุนั้น สัตว์ผู้เกิดมา พึงเป็นผู้มีสติทุกเมื่อ พึงเว้นขาดกามทั้ง-หลาย ครั้นเว้นขาดกามเหล่านั้นแล้ว พึงข้ามโอฆะได้ เหมือนบุคคลวิดน้ำในเรือแล้วไปถึงฝั่งฉะนั้น." (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/26/21 65/23/11 |
16 | [๒๙] คำว่า พราหมณ์ เป็นชื่อ พระอรหันต์ (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/30/7 65/26/3 |
17 | [๒๙] " พระขีณาสพนั้นมีภพนี้เป็นที่สุด มีสรีระเป็นทีหลัง มิได้มีชาติ มรณะ สงสาร และภพใหม่" (กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/32/11 65/27/26 |
18 | พระสารีบุตรผู้มีปัญญามาก จำแนกธรรมจักรนั้นเป็นส่วนๆ กล่าวมหานิทเทส.(อารัมภกถา) 65/33/15 65/29/17 |
19 | พยัญชนปาฐะ มี 6 อย่าง คือ อักขระ บท พยัญชนะ อาการะ นิรุตติ นิทเทส.(อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/35/4 65/31/1 |
20 | บุคคลประกอบด้วยธรรม 5 ประการ ฟังพระสัทธรรม เป็นผู้ควรที่จะก้าวลงสู่ความแน่นอนอันเป็นความชอบในกุศลธรรมทั้งหลาย. (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/45/6 65/38/15 |
21 | มหานิทเทส สงเคราะห์เข้าใน คาถา และเวยยากรณะ มี 2 วรรค 33 สูตร.(อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/46/20 65/40/4 |
22 | วัตถุกามควรกำหนดรู้ , กิเลสกาม ท่านสงเคราะห์เข้าในสังขารขันธ์ ควรละ..(อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/49/8 65/42/10 |
23 | " สิ่งสวยงามทั้งหลายในโลกเหล่านั้น มิใช่เป็นกามไปทั้งหมด ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความดำริ เป็นกามของบุรุษ สิ่งสวยงามทั้งหลาย ย่อมดำรงอยู่ในโลกอย่างนั้นแล เมื่อเป็นเช่นนั้น นักปราชญ์ทั้งหลาย ก็กำจัดความพอใจในสิ่งสวยงามเหล่านี้เสียได้" (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/49/17 65/42/19 |
24 | ที่ชื่อว่า รูป เพราะย่อมแตกดับไป. (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/51/1 65/43/17 |
25 | กระท่อมหลังเดียว เป็นต้น ชื่อว่า คาม คามที่มีตลาด เรียกว่า นิคม 65/53/9 65/45/13 |
26 | กามของเหล่าเทวดาชั้นอกนิฏฐ ชื่อว่า ประณีตที่สุด. (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/56/4 65/47/15 |
27 | กามาวจร หมายความว่า เป็นที่ท่องเที่ยวไปแห่งกาม มี 11 ภูมิ คือ อบายภูมิ 4มนุษย์ภูมิ 1 เทวภูมิ 6. (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/57/13 65/48/19 |
28 | ชื่อว่า รูปาวจรธรรม เพราะอรรถว่า ท่องเที่ยวไปในรูปภพ ชื่อว่า อรูปปาวจรธรรมเพราะอรรถว่า ท่องเที่ยวไปในอรูปภพ(อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/58/3 65/49/2 |
29 | รูปมีความสลายไปเป็นลักษณะ , เวทนามีความเสวยอารมณ์เป็นลักษณะ สัญญามีความจำได้เป็นลักษณะ เจตนา มีความจงใจเป็นลักษณะ, วิญญาณมีความรู้แจ้งเป็นลักษณะ. (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/63/11 65/53/18 |
30 | ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ผุดผ่อง ก็จิตนั้นแลอันอุปกิเลสทั้งหลายที่จรมาทำให้เศร้าหมองแล้ว (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/68/1 65/57/7 |
31 | สหชาต ศัพท์ ในอรรถว่าเกิดร่วม , สัมปยุตตะ คือ ประกอบพร้อมแล้ว.(อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/72/10 65/60/13 |
32 | ความเหี่ยวแห้งภายในใจ ชื่อว่าโศก, ความบ่นเพ้อด้วยวาจา ชื่อว่า ปริเทวะ,ความบีบคั้นทางกายเป็นต้น ชื่อว่า ทุกข์ , ความบีบคั้นทางใจ ชื่อว่า โทมนัสและ ความคับแค้นใจอย่างแรง ชื่อว่า อุปายาส (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/80/18 65/66/12 |
33 | ชื่อว่า สันถวะ ด้วยความสามารถแห่งความเชยชิด อธิบายว่าเกี่ยวข้องมี 2 อย่าง คือ ตัณหาสันถวะ มิตตสันถวะ (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/97/20 65/79/11 |
34 | กามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/104/7 65/84/13 |
35 | เอกโวการภพ คือ ภพที่เกลื่อนไปด้วยรูปขันธ์หนึ่ง , จตุโวการภพ คือ ภพที่เกลื่อนไปด้วยอรูปขันธ์ 4 , ปัญจโวการภพ คือ ภพที่เกลื่อนไปด้วยขันธ์ 5.(อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/106/1 65/85/19 |
36 | สติ มีความระลึกได้เป็นลักษณะ เป็นเครื่องระลึกได้ของเหล่าสัตว์.(อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/107/5 65/86/15 |
37 | " ภิกษุใดได้เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์ ได้เห็นทุกข์โดยความเป็นดังลูกศร ได้เห็นอทุกขมสุข ซึ่งมีอยู่นั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง ภิกษุนั้นแลเป็นผู้เห็นชอบ ย่อมกำหนดรู้เวทนาทั้งหลายได้" (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/114/15 65/92/16 |
38 | ชื่อว่า อนุสสติ ด้วยสามารถระลึกถึง โดยระลึกถึงบ่อยๆ (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/118/6 65/95/12 |
39 | ชื่อว่า เอกายนะ เพราะอรรถว่า พึงไปคนเดียว , ทางไปของบุคคลเอก , ไปสู่ที่เดียว. (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/119/7 65/96/8 |
40 | สมาธิ เพราะอรรถว่าให้ยึดมั่น มีความไม่ซัดส่ายหรือ ความไม่ฟุ้งซ่านเป็นลักษณะ.(อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/126/15 65/102/3 |
41 | ปัญญา เพราะอรรถว่า รู้ชัด มีการแทงตลอดตามสภาวะเป็นลักษณะ.(อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/127/4 65/102/11 |
42 | ความหมายของคำว่า หิริ และโอตตัปปะ (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/128/1 65/103/1 |
43 | ลักษณะแห่ง กามฉันทะ พยาบาทจนถึง ปมาทะ (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/135/14 65/108/15 |
44 | ทุกข์ในท้องแม่ (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/152/11 65/121/21 |
45 | มรณะ 3 คือ ขณิกมรณะ สมมติมรณะ สมุจเฉทมรณะ (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/155/12 65/124/7 |
46 | ในครรภ์มารดา เหมือนคูถนรก (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/160/8 65/128/15 |
47 | ปริญญา 3 คือ ญาตปริญญา ตีรณปริญญา ปหานปริญญา (อ.กามสุตตนิทเทสที่ ๑) 65/171/1 65/137/13 |
48 | [๓๐] " นรชนเป็นผู้ข้องอยู่ในถ้ำ เป็นผู้อันกิเลสมากปิดบังไว้แล้ว นรชนเมื่อตั้งอยู่ก็หยั่งลงในที่หลง นรชนเช่นนั้น ย่อมอยู่ไกลจากวิเวก ก็เพราะกามทั้งหลายในโลก ไม่เป็นของอันนรชนละได้ง่าย " (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/187/4 65/150/4 |
49 | [๓๑] คำว่า ถ้ำ เรือ รถ ธง จอมปลวก รัง เมือง กระท่อม ฝี หม้อ เหล่านี้เป็นชื่อของกาย (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/187/10 65/150/11 |
50 | [๓๒] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าความกำหนัด ความเพลิดเพลิน ความอยาก มีอยู่ในกวฬิงการาหาร วิญญาณก็ตั้งอยู่งอกงามในที่นั้น วิญญาณตั้งอยู่งอกงามในที่ใด ความหยั่งลงแห่งนามรูปก็มีอยู่ในที่นั้น ความหยั่งลงแห่งนามรูปมีอยู่ในที่ใดความเจริญแห่งสังขารทั้งหลายก็มีอยู่ในที่นั้น. (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/190/1 65/152/14 |
51 | [๓๓] วิเวก 3 อย่าง คือ กายวิเวก จิตตวิเวก อุปธิวิเวก (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/191/15 65/154/2 |
52 | [๓๕] " สัตว์เหล่านั้น ผู้ติดพันด้วยความแช่มชื่นในภพเพราะเหตุแห่งความปรารถนามุ่งหวังอยู่ในข้างหลังบ้าง ในข้างหน้าบ้าง ปรารถนาอยู่ซึ่งกามเหล่านี้ หรือกามที่มีในก่อน เป็นผู้หลุดพ้นได้ยาก และไม่ยังบุคคลอื่นให้หลุดพ้น" 65/195/20 65/157/19 |
53 | [๓๗] บุคคลไม่ฝึกฝน ไม่อบรม ไม่ดับกิเลสด้วยตนเองแล้ว จะยังผู้อื่นให้ฝึกฝนให้อบรมให้ดับกิเลสได้ ข้อนี้มิใช่ฐานะที่จะมีได้ (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/199/15 65/161/2 |
54 | [๓๗] ความบริสุทธิ์ และความไม่บริสุทธิ์ เป็นของเฉพาะตน ผู้อื่นไม่พึงให้ผู้อื่นบริสุทธิ์ได้ (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/200/12 65/161/20 |
55 | [๓๗] พระตถาคตเป็นเพียงผู้บอกหนทาง (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/201/4 65/161/25 |
56 | [๔๐] " สัตว์เหล่านั้น ปรารถนาขวนขวาย หลงใหลอยู่ในกามทั้งหลายเป็นผู้ตกต่ำตั้งอยู่ในกรรมอันไม่เสมอ ถึงทุกข์แล้ว ย่อมรำพันอยู่ว่าเราทั้งหลายเคลื่อนจากภพนี้แล้ว จักเป็นอะไรหนอ" (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/204/2 65/164/18 |
57 | [๔๒] ความตระหนี่ 5 ประการ (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/206/19 65/167/12 |
58 | [๔๒] ผู้ไม่เชื่อถือ ไม่ทำตาม ประพฤติฝ่าฝืน เบือนหน้าไปทางอื่น ต่อคำสอนของพระพุทธเจ้า และพระสาวก ชื่อว่าผู้ตกต่ำ (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/207/9 65/167/22 |
59 | [๔๕] " เพราะฉะนั้นแล สัตว์ผู้เกิดมา พึงศึกษาในศาสนานี้แหละ พึงรู้กรรมอันไม่เสมออย่างใดอย่างหนึ่งในโลกว่า เป็นกรรมอันไม่เสมอ ไม่พึงประพฤติกรรมอันไม่เสมอ เพราะเหตุแห่งกรรมอันไม่เสมอนั้น นักปราชญ์ทั้งหลายได้กล่าวชีวิตนี้ ว่าเป็นของน้อย" (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/209/10 65/169/15 |
60 | [๔๙] ชีวิตน้อยโดยเหตุ 2 ประการ คือ ชีวิตน้อย เพราะตั้งอยู่น้อย ชีวิตน้อยเพราะมีกิจน้อย. (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/212/15 65/172/8 |
61 | [๔๙] " อายุของพวกมนุษย์น้อย บุรุษผู้ใคร่ความดี พึงดูหมิ่นอายุที่น้อยนี้ พึงรีบประพฤติให้เหมือนคนถูกไฟไหม้ศีรษะ ฉะนั้น เพราะความตายจะไม่มาถึง มิได้มีวัน คืนย่อมล่วงเลยไป ชีวิตก็กระชั้นเข้าไปสู่ความตายอายุของสัตว์ทั้งหลาย ย่อมสิ้นไป เหมือนน้ำในแม่น้ำน้อย ย่อมสิ้นไปฉะนั้น" (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/216/3 65/175/5 |
62 | [๔๙] ปัญญา เรียกว่า ธี ได้แก่ ความรู้ ความรู้ทั่ว ฯลฯ (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/216/10 65/175/15 |
63 | [๕๐] " เราย่อมเห็นหมู่สัตว์ ผู้ไปในตัณหาในภพทั้งหลาย ดิ้นรนอยู่ในโลก นรชนทั้งหลายที่เลว ยังไม่ปราศจากตัณหาในภพน้อยภพใหญ่ ย่อมร่ำไรใกล้ปากมัจจุ".(คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/217/19 65/176/18 |
64 | [๕๕] " ท่านทั้งหลาย จงเห็นหมู่สัตว์ผู้ดิ้นรนอยู่ในเพราะวัตถุ ที่ยึดถือว่าของเราเหมือนฝูงปลาดิ้นรนอยู่ในน้ำน้อยอันมีกระแสสิ้นไป นรชนเห็นโทษแม้นั้นแล้ว ไม่ทำซึ่งตัณหาเครื่องเกี่ยวข้องในภพทั้งหลาย พึงเป็นผู้ไม่ยึดถือว่าของเราประพฤติ".(คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/222/4 65/180/3 |
65 | [๕๖] ความยึดถือว่าของเรา 2 อย่าง คือ ความยึดถือว่าของเราด้วยตัณหา ความยึดถือว่าของเราด้วยทิฏฐิ (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/222/10 65/180/11 |
66 | [๖๐] " ธีรชนพึงกำจัดความพอใจในที่สุดทั้ง 2 กำหนดรู้ผัสสะแล้ว ไม่เป็นผู้ตามติดใจ ตนติเตียนกรรมใด ไม่ทำกรรมนั้นอยู่ ย่อมไม่ติดในทิฏฐารมณ์ และสุตารมณ์"(คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/226/5 65/183/11 |
67 | [๖๒] กำหนดรู้ผัสสะ โดยปริญญา 3 ประการ (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/227/12 65/184/18 |
68 | [๖๕] " มุนีกำหนดรู้สัญญาแล้ว ไม่เข้าไปติดในความยึดถือทั้งหลาย พึงข้ามโอฆะได้เป็นผู้ถอนลูกศรเสียแล้ว ไม่ประมาท ประพฤติอยู่ย่อมไม่หวังโลกนี้ และโลกหน้า"(คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/231/18 65/188/15 |
69 | [๖๗] โมเนยยะ คือ ธรรมที่ทำให้เป็นมุนี มี 3 อย่าง (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/233/14 65/190/6 |
70 | [๖๗] มุนี 6 จำพวก คือ อาคารมุนี อนาคารมุนี เสขมุนี อเสขมุนี ปัจเจกมุนีมุนิมุนี (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/234/19 65/191/9 |
71 | แบคทีเรีย ไวรัส จุลินทรีย์ (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/242/8 65/197/19 |
72 | ความโลภ เรียกว่า ราคะ ด้วยสามารถแห่งความยินดี , เรียกว่า นันทิ ด้วยสามารถแห่งเพลิดเพลิน , เรียกว่า ตัณหา ด้วยสามารถแห่งความเป็นไปด้วยความอยาก (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/245/17 65/200/11 |
73 | เสนาสนะ 4 อย่าง คือ วิหาร เตียงตั่ง สันถัต โอกาส (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/248/2 65/202/4 |
74 | คำว่า ปฏิฆสัญญา และนานัตตสัญญา (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/252/1 65/205/5 |
75 | วิญญาณัญจายตนะ เป็นชื่อของฌานที่มีวิญญาณ ซึ่งเป็นไปในอากาศเป็นอารมณ์ , อากิญจัญญายตนะ เป็นชื่อของฌานซึ่งมีความปราศจากวิญญาณที่เป็นไปในอากาศเป็นอารมณ์ (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/253/4 65/206/3 |
76 | ตระหนี่อาวาส จะเกิดเป็นยักษ์ เปรต เทินขยะไว้บนศีรษะ หมกไหม้ในเรือนโลหะ , ตระหนี่ลาภ จะเกิดเป็นยักษ์ เปรต งูเหลือม ตกคูถนรก , ตระหนี่วรรณะและปริยัติธรรม จะมีวรรณทราม เป็นใบ้ , ตระหนี่ธรรม ตกนรกถ่านเพลิง.(อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/275/5 65/223/19 |
77 | องค์แห่งอกุศลกรรมบถ 10 (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/279/12 65/227/4 |
78 | อธิศีล อธิจิต อธิปัญญา (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/287/17 65/234/6 |
79 | หิริ และโอตตัปปะ เป็นปทัฏฐานของศีล (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/292/9 65/238/2 |
80 | เจตนา , เจตสิก , ความสำรวม , การไม่ก้าวล่วง ชื่อว่าศีล (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/293/1 65/238/9 |
81 | ศีลเป็นเบื้องต้นแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/295/7 65/240/5 |
82 | การไปแห่งญาณเพื่อบรรลุนิพพาน ย่อมไม่สำเร็จแก่บุคคลผู้มีศีลขาดด่างพร้อย ไม่บริบูรณ์ (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/295/18 65/240/16 |
83 | วิตก มีลักษณะยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ วิจารมีลักษณะประคองจิตไว้ในอารมณ์ วิตกเข้าถึงจิตก่อนดุจการเคาะระฆัง วิจารตามพัวพัน ดุจเสียงครางของระฆัง.(อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/301/4 65/245/6 |
84 | ปีติ มีลักษณะดื่มด่ำ ปีติมี 5 อย่าง คือ ปีติเล็กน้อย ปีติชั่วขณะ ปีติเป็นระลอกปีติโลดลอย ปีติซาบซ่าน ปีติสงเคราะห์เข้าในสังขารขันธ์ (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/302/13 65/246/10 |
85 | ฌาน มี 2 คือ อารัมมณูปนิชฌาน เพราะเข้าไปเพ่งอารมณ์ ลักขณูปนิชฌานเพราะเข้าไปเพ่ง อนิจจลักษณะ เป็นต้น (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/304/12 65/247/23 |
86 | ปฐมฌานนั้น ละองค์ 5 ประกอบด้วยองค์ 5 มีความงาม 3 อย่าง ถึงพร้อมด้วยลักษณะ 10 (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/305/10 65/248/14 |
87 | ลักษณะทุติยฌาน (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/310/20 65/253/2 |
88 | อุเบกขามี 10 อย่าง (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/315/11 65/256/25 |
89 | ลักษณะแห่งจตุตถฌาน (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/321/10 65/261/21 |
90 | คำสอนของพระพุทธเจ้า คือ ไตรสิกขา พระสารีบุตรเถระกล่าวด้วยบท 10 บทคือ ทิฏฐิ ขันติ, รุจิ(ความชอบใจ), อาทายะ(ความยึดถือ), ธรรม, วินัย, ธรรมวินัย, ปาพจน์ , พรหมจรรย์ ,สัตถุศาสตร์ (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/328/6 65/267/12 |
91 | เทวดาชั้นจาตุมมหาราชิกา อยู่ท่ามกลางเขาสิเนรุ พวกอยู่ตามภูเขาก็มี อยู่ในอากาศก็มีอยู่ต่อๆ กันไปถึงจักรวาลบรรพต เทวดาเหล่านี้คือ พวกขิฑฑาปโทสิกะพวกมโนปโทสิกะ พวกสีตวลาหกะ พวกอุณหวลาหกะ จันทิมเทพบุตร สุริย-เทพบุตร ทั้งหมดนี้อยู่เทวโลกชั้นจาตุมมหาราชิกา. (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/343/6 65/280/2 |
92 | ความหมายของสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์ ถึงพรหม. (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/344/10 65/280/24 |
93 | ขณะแห่งชีวิตของสัตว์ทั้งหลายน้อยเหลือเกิน เพียงเป็นไปชั่วขณะจิตเดียวเท่านั้นฉะนั้นพอจิตดวงนั้นดับ ท่านเรียกสัตว์ว่า ดับ คือ ตาย (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/346/1 65/282/2 |
94 | ปัญญา มีความรู้ทั่วเป็นลักษณะ มีความสว่างเป็นลักษณะ (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/346/13 65/282/14 |
95 | มังสจักษุ 2 อย่าง คือ สสัมภารจักษุ ปสาทจักษุ , ปสาทจักษุนั้นยังเยื่อหุ้มตา 7 ชั้น ให้เอิบอาบเหมือนปุยนุ่นชุ่มในน้ำมัน (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/349/9 65/284/20 |
96 | ผัสสะ เพราะอรรถว่า ถูกต้อง มีการถูกต้องเป็นลักษณะ , มีการเสียดสีเป็นรส.(อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/363/8 65/295/19 |
97 | ชื่อว่า โลกุตตระ เพราะอรรถว่า ข้ามขึ้นจากโลก เพราะภาวะที่ไม่นับเนื่องในโลก,ชื่อว่า อุตตระ เพราะอรรถว่า ข้ามขึ้นแล้ว (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/369/16 65/300/16 |
98 | ชื่อว่า สัญญา เพราะอรรถว่า จำอารมณ์ มีความจำได้เป็นลักษณะ , มีความรู้ยิ่งเฉพาะเป็นรส. (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/379/9 65/307/13 |
99 | พระพุทธเจ้าทรงพระนามว่า ตถาคตด้วยเหตุ 8 ประการ (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/388/6 65/314/3 |
100 | " พระผู้เป็นนาถะพระองค์นั้น ชื่อว่า ทรงไกลจากกิเลส และเป็นผู้ไม่มีความพร้อมเพรียง เพราะไม่ทรงพร้อมเพรียงด้วยโทษทั้งหลาย เหตุนั้นจึงทรงพระนามว่าอรหันต์" (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/401/11 65/323/20 |
101 | ความหมายของคำว่า สัมมาสัมพุทธะ (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/403/16 65/325/25 |
102 | [๗๓] มุนีไม่เข้าถึงวาทะติเตียนด้วยเหตุ 2 ประการ คือ เป็นผู้ไม่กระทำ ย่อมไม่เข้าถึงวาทะติเตียนด้วยความเป็นผู้ไม่กระทำ , เป็นผู้ถูกเขาว่า เขาติเตียน ย่อมไม่โกรธ ไม่โต้ตอบ ไม่ทำความชัง ให้ปรากฏว่า เราไม่เป็นผู้กระทำ .(ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/412/20 65/332/13 |
103 | [๗๕] " บุคคลผู้ไปตามความพอใจ ตั้งมั่นแล้วในความชอบใจ พึงล่วงทิฏฐิของตนได้อย่างไรเล่า แต่บุคคลเมื่อกระทำให้เต็มด้วยตนเอง รู้อย่างใด ก็พึงกล่าวอย่างนั้น".(ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/414/2 65/333/13 |
104 | [๘๐] " ชนใดไม่มีใครถาม ย่อมบอกศีล และวัตรของตนแก่ชนเหล่าอื่น ผู้ฉลาดทั้งหลายกล่าวชนเหล่านั้นว่า ไม่มีอริยธรรม อนึ่งชนใดย่อมบอกตนเอง ผู้ฉลาดทั้งหลายก็กล่าวชนนั้นว่า ไม่มีอริยธรรม" (ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/417/2 65/335/23 |
105 | [๘๑] ความสำรวม ความระวัง ไม่ก้าวล่วงในสิกขาบททั้งหลาย นี้เป็นศีล.ความสมาทาน ชื่อว่า เป็นวัตร (ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/417/13 65/336/6 |
106 | [๘๕] " แต่ว่าภิกษุผู้สงบ ดับกิเลสในตนแล้ว ไม่อวดในศีลทั้งหลายว่า เราเป็นดังนี้ผู้ฉลาดทั้งหลาย กล่าวภิกษุนั้นว่า มีอริยธรรม อนึ่ง กิเลสเป็นเหตุฟูขึ้นมิได้ มีแก่ภิกษุใด ในที่ไหนๆ ในโลก ผู้ฉลาดทั้งหลายก็กล่าวภิกษุนั้นว่า มีอริยธรรม".(ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/423/1 65/340/20 |
107 | [๘๖] ผู้ได้ชื่อว่า ภิกษุ (ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/423/6 65/341/1 |
108 | [๘๙] กิเลสเป็นเหตุให้ฟูขึ้น 7 ประการ คือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ กิเลส และกรรม (ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/425/19 65/343/7 |
109 | [๙๔] " สันติ มี 3 ประการ คือ สันติโดยส่วนเดียว สันติโดยองค์นั้นๆ สันติโดยสมมติ (ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/429/10 65/346/3 |
110 | [๙๕] " ความถือมั่นด้วยทิฏฐิย่อมไม่เป็นอาการที่ก้าวล่วงโดยง่ายเลย การถึงความตกลงในธรรมทั้งหลายแล้วถือมั่น ก็ไม่เป็นอาการที่ก้าวล่วงได้โดยง่ายเพราะฉะนั้น ในความถือมั่นเหล่านั้น นรชนย่อมสละธรรมบ้าง ยึดถือธรรมบ้าง".(ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/431/3 65/347/9 |
111 | [๑๐๐] " ทิฏฐิที่กำหนดเพื่อเกิดในภพน้อยและภพใหญ่ ย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้มีปัญญาในที่ไหนๆ ในโลก เพราะบุคคล ผู้มีปัญญาละมารยา และมานะได้แล้วเป็นผู้ไม่มีกิเลสเครื่องเข้าถึง จะพึงไปด้วยกิเลสอะไรเล่า" (ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/434/5 65/349/20 |
112 | [๑๐๒] ความประพฤติลวง เรียกว่า มารยา , มานะ ได้แก่ ความถือตัว.(ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/437/3 65/352/7 |
113 | ภิกษุทั้งหลายไม่พึงเป็นผู้นิ่งในที่ทั้งปวงด้วยคิดว่า เราเป็นผู้มีศีล ด้วยว่าคนทั้งหลายในโลกย่อมไม่รู้ว่า บัณฑิตปนกับเหล่าพาลเมื่อไม่กล่าว (อ.ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/447/19 65/361/7 |
114 | ผ้าชื่อว่า บังสุกุล เพราะอรรถว่า เป็นเหมือนเกลือกกลั้วด้วยฝุ่น.(อ.ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/454/17 65/366/22 |
115 | ชื่อว่า ธุดงค์ เพราะอรรถว่า เป็นองค์แห่งภิกษุผู้กำจัด เพราะกำจัดกิเลสด้วยสมาทานนั้น. (อ.ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/456/9 65/368/3 |
116 | กิเลส 3 เหล่านี้ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ทำลายได้ด้วยโสดา-ปัตติมรรค (อ.ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/464/7 65/374/4 |
117 | ทิฏฐิที่พวกเจ้าทิฏฐิ ประพฤติล่วงนี้ เมื่อสำเร็จผล ย่อมให้สำเร็จเป็นสัตว์นรกบ้าง เป็นสัตว์เดรัจฉานบ้าง (อ.ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/472/5 65/380/11 |
118 | ความสำคัญว่าได้บรรลุ ย่อมมีแก่ผู้มีศีลบริสุทธิ์ ผู้ไม่ประมาทในกรรมฐาน พิจารณาสังขารเริ่มวิปัสสนา และไม่เห็นกิเลสกำเริบเป็นเวลานาน..(อ.ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/482/8 65/388/19 |
119 | นานาลามก (อ.ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/483/6 65/389/13 |
120 | [๑๐๙] " เราย่อมเห็นนรชนผู้หมดจด ว่าเป็นผู้ไม่มีโรคเป็นอย่างยิ่ง ความหมดจดดีย่อมมีแก่นรชนเพราะความเห็น บุคคลเมื่อรู้เฉพาะอย่างนี้รู้แล้วว่า ความเห็นนี้เป็นเยี่ยมดังนี้ ย่อมเชื่อว่าความเห็นนั้นเป็นญาณ บุคคลนั้นชื่อว่า เป็นผู้พิจารณาเห็นความหมดจด" (สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/492/4 65/397/4 |
121 | [๑๒๐] " ดูก่อนสภิยะ บุคคลใดลอยบาปทั้งปวงเสียแล้ว ปราศจากมลทิน มีจิตตั้งมั่นด้วยดี มีตนตั้งอยู่แล้ว บุคคลนั้นเรียกว่า เป็นผู้สำเร็จกิจเพราะล่วงสงสารได้แล้วอันตัณหาทิฏฐิไม่อาศัย เป็นผู้คงที่ เรียกว่า เป็นพราหมณ์" (สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/496/15 65/400/22 |
122 | [๑๒๑] กุสลาภิสังขารอันให้ปฏิสนธิในไตรธาตุ (กามธาตุ รูปธาตุ อรูปธาตุ)อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกว่า บุญ (สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/501/7 65/404/20 |
123 | [๑๒๓-๑๒๗] ละศาสดาต้น อาศัยศาสดาหลัง (สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/502/14 65/405/20 |
124 | [๑๒๘] " ชันตุชนสมาทานวัตรทั้งหลายเอง เป็นผู้ข้องในสัญญา ย่อมดำเนินผิดๆถูกๆ ส่วนบุคคลผู้มีความรู้ รู้ธรรมด้วย ความรู้ทั้งหลาย เป็นผู้มีปัญญากว้าง-ขวางดุจแผ่นดิน ย่อมไม่ดำเนินผิดๆ ถูกๆ" (สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/504/13 65/407/11 |
125 | [๑๓๔] กองทัพมาร10 (สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/509/6 65/411/6 |
126 | [๑๓๗] " สัตบุรุษทั้งหลายย่อมไม่กำหนด ย่อมไม่ทำตัณหาและทิฏฐิไว้ในเบื้องหน้า สัตบุรุษเหล่านั้นย่อมไม่กล่าวว่าเป็นความหมดจดส่วนเดียว สัตบุรุษเหล่านั้นละกิเลสเป็นเครื่องถือมั่น ผูกพันร้อยรัดแล้วไม่ทำความหวังในที่ไหนๆ ในโลก".(สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/512/5 65/413/20 |
127 | [๑๔๒] " พระอรหันต์นั้น เป็นผู้ล่วงแดนแล้ว ลอยบาปแล้ว ทั้งรู้ทั้งเห็นแล้ว มิได้มีมีความยึดถือ มิได้มีความกำหนัดในกามคุณเป็นที่กำหนัด มิได้กำหนัดในสมาบัติเป็นที่คลายกำหนัด มิได้มีความยึดถือว่าสิ่งนี้ยอดเยี่ยม" (สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/515/14 65/416/16 |
128 | [๑๔๓] พระอรหันต์ นั้นเป็นผู้ก้าวล่วงแดน 4 อย่าง (สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/516/1 65/416/22 |
129 | วัตรสุนัข เมื่อสำเร็จ ย่อมนำเข้าถึงความเป็นเพื่อนกับสุนัขทั้งหลาย เมื่อไม่สำเร็จย่อมนำเข้าสู่นรก (อ.สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/527/7 65/426/2 |
130 | สังขาร ได้แก่ ปุญญาภิสังขาร , อปุญญาภิสังขาร , อาเนญชาภิสังขาร , กายสัง-ขาร , วจีสังขาร , จิตตสังขาร (อ.สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/535/12 65/432/15 |
131 | ท่านเรียกวิญญาณดวงแรกว่า จุติ เพราะเคลื่อนไป เรียกวิญญาณดวงหลังว่าปฏิสนธิ เพราะสืบต่อในระหว่างภพ เป็นต้น (อ.สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/540/20 65/437/8 |
132 | ปัญญา ชื่อว่า ภูริ เพราะอรรถว่า เหมือนแผ่นดิน (อ.สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/547/5 65/442/23 |
133 | ความกลัวที่รู้กันว่าความหวาดสะดุ้ง ย่อมเกิดแก่ผู้ที่ยังไม่บรรลุคุณวิเศษ.(อ.สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/553/3 65/447/8 |
134 | ชื่อว่า อนุสัย ด้วยอรรถว่านอนเนื่อง (อ.สุทธัฏฐกสุตตนิเทส) 65/559/16 65/452/15 |
135 | [๑๕๕] " ผู้ฉลาดทั้งหลายย่อมกล่าวทัศนะ ที่ตนอาศัยแม้นั้นว่าเป็นเครื่องร้อยรัด เห็นทัศนะอื่นว่าเลว เพราะฉะนั้น แหละ ภิกษุไม่พึงอาศัยรูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน อารมณ์ที่ทราบ หรือ ศีลและวัตร" (ปรมัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/569/9 65/460/12 |
136 | [๑๕๙] " ภิกษุไม่พึงกำหนดทิฏฐิในโลก ด้วยญาณ หรือแม้ด้วยศีล และวัตรไม่พึงนำเข้าไปซึ่งตนว่า เสมอเขา ไม่พึงสำคัญตนว่าเลวกว่าเขา หรือแม้ว่าวิเศษกว่าเขา".(ปรมัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/571/6 65/461/23 |
137 | [๑๖๙] ความหมายของคำว่า โลกนี้ และโลกหน้า (ปรมัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/575/10 65/465/5 |
138 | [๑๗๖] " พระอรหันตขีณาสพทั้งหลาย ย่อมไม่กำหนด ย่อมไม่ทำตัณหาและทิฏฐิไว้ในเบื้องหน้า แม้ธรรม คือทิฏฐิทั้งหลาย อันพระอรหันต์เหล่านั้นไม่ปรารถนาเฉพาะแล้ว พระอรหันต์ผู้เป็นพราหมณ์ อันใครๆ ไม่พึงนำไปได้ด้วยศีล และ พรตย่อมเป็นผู้ถึงฝั่งไม่กลับมา เป็นผู้คงที่" (ปรมัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/580/7 65/468/18 |
139 | [๑๘๐] กิเลสเหล่าใด อันอริยบุคคลละได้แล้ว อริยบุคคลนั้นย่อมไม่กลับมาสู่กิเลสเหล่านั้นอีก (ปรมัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/583/14 65/471/13 |
140 | [๑๘๐] หากว่าชนทั้งหลายพึงลูบไล้แขนข้างหนึ่ง แห่งพระอรหันต์ด้วยของหอม พึงถากแขนข้างหนึ่งด้วยมีด พระอรหันต์ย่อมไม่มีความยินดี ไม่มีความยินร้ายเป็นผู้คงที่อยู่ (ปรมัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/584/8 65/472/6 |
141 | [๑๘๑] " ชีวิตนี้น้อยหนอ มนุษย์ย่อมตายภายในร้อยปี แม้หากว่ามนุษย์ใดย่อมเป็นอยู่เกินไป มนุษย์ผู้นั้นย่อมตาย เพราะชราโดยแท้แล" (ชราสุตตนิทเทส) 65/601/3 65/485/4 |
142 | [๑๘๒] สัตว์โลกตายแล้ว เพราะความแตกแห่งจิต นี้เป็นบัญญัติทางปรมัตถ์.(ชราสุตตนิทเทส) 65/602/11 65/486/6 |
143 | [๑๘๖] " ชนทั้งหลายย่อมเศร้าโศกในเพราะวัตถุที่ถือว่าของเรา ความยึดถือทั้ง-หลายเป็นของเที่ยง มิได้มีเลย การยึดถือนี้มีความพลัดพรากเป็นที่สุดทีเดียวกุลบุตรเห็นดังนี้ แล้วไม่ควรอยู่ครองเรือน" (ชราสุตตนิทเทส) 65/607/2 65/490/5 |
144 | [๑๙๑] " บุรุษย่อมสำคัญเบญจขันธ์ใดว่า นี้ของเรา เบญจขันธ์นั้นอันบุรุษนั้นย่อมละไปแม้เพราะความตาย พุทธมามกะผู้เป็นบัณฑิตรู้เห็นโทษแม้นั้นแล้ว ไม่ควรน้อมไปเพื่อความยึดถือว่าของเรา" (ชราสุตตนิทเทส) 65/610/14 65/492/26 |
145 | [๑๙๕] พุทธมามกะ ได้แก่ ผู้นับถือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ คือ บุคคลผู้นั้นย่อมนับถือ พระพุทธเจ้าว่าของเรา (ชราสุตตนิทเทส) 65/612/10 65/494/17 |
146 | [๑๙๕] ภิกษุเหล่าใดเป็นผู้คดโกง กระด้าง พูดพล่อย กรีดกราย มีมานะจัด มีจิตไม่ตั้งมั่น ภิกษุเหล่านั้นเป็นผู้ไม่นับถือเรา เป็นผู้ไปปราศแล้วจากธรรมวินัยนี้ .(ชราสุตตนิทเทส) 65/612/14 65/494/21 |
147 | [๑๙๖] " บุรุษตื่นแล้ว ย่อมไม่เห็นสิ่งที่มาประจวบด้วยความฝัน แม้ฉันใดใครๆ ก็ไม่เห็นชนที่รักซึ่งตายจากไปแล้วแม้ฉันนั้น" (ชราสุตตนิทเทส) 65/614/2 65/495/23 |
148 | [๒๐๑] " ชนทั้งหลายที่เห็นกันก็ดี ที่ได้ยิน ชื่อเรียกกันก็ดี ชนเหล่านั้นที่จากไปแล้วยังเหลือแต่ชื่อเท่านั้นที่พูดถึงกันอยู่" (ชราสุตตนิทเทส) 65/615/9 65/496/25 |
149 | [๒๐๙] พระเสขะ 7 จำพวก เรียกว่า ผู้ประพฤติหลีกเร้น (ชราสุตตนิทเทส) 65/622/2 65/502/15 |
150 | [๒๑๑] ความพร้อมเพรียง ได้แก่ สามัคคี 3 อย่าง คือ คณะสามัคคี ธรรมสามัคคีอนภินิพพัตติสามัคคี (ชราสุตตนิทเทส) 65/623/8 65/504/4 |
151 | [๒๑๔] สิ่งเป็นที่รัก 2 อย่าง คือ สัตว์ สังขาร (ชราสุตตนิทเทส) 65/626/3 65/506/12 |
152 | ภาวะของสัตว์เมื่อเริ่มปฏิสนธิ (อ.ชราสุตตนิทเทส) 65/635/14 65/513/21 |
153 | ก็โดยปรมัตถ์ ขันธ์เท่านั้นแตก ชื่อว่า สัตว์ไม่มีใครตาย (อ.ชราสุตตนิทเทส) 65/644/6 65/520/22 |
154 | [๒๒๕] เมถุนธรรม ได้แก่ ธรรมของอสัตบุรุษ ธรรมของคนชาวบ้าน ธรรมมีน้ำเป็นที่สุด (ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/661/9 65/535/11 |
155 | [๒๒๙] วิเวก 3 คือ กายวิเวก จิตตวิเวก อุปธิวิเวก (ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/663/18 65/537/12 |
156 | [๒๓๐] " คำสั่งสอนของบุคคลผู้ประกอบเนืองๆ ในเมถุนธรรมย่อมเลอะเลือน และบุคคลนั้นย่อมปฏิบัติผิด นี้เป็นธรรมอันไม่ประเสริฐในบุคคลนั้น" (ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/666/2 65/539/9 |
157 | [๒๓๑] คำว่า ภควา เป็นพระนามเครื่องกล่าวด้วยความเคารพ (ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/667/6 65/540/10 |
158 | [๒๓๒] คำสั่งสอนย่อมเลอะเลือนด้วยเหตุ 2 ประการ คือ คำสั่งสอนทางปริยัติย่อมเลอะเลือน คำสั่งสอนทางปฏิบัติย่อมเลอะเลือน (ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/669/1 65/541/22 |
159 | [๒๓๕] " บุคคลใดเป็นผู้เดียวเที่ยวไปในเบื้องต้น (ต่อมา) ย่อมซ่องเสพเมถุนธรรม บัณฑิตทั้งหลายกล่าวบุคคลนั้นว่าเป็นปุถุชนเลวในโลก เหมือนยวดยานที่หมุนไป ฉะนั้น"(ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/670/11 65/543/5 |
160 | [๒๓๖] ความเป็นผู้เที่ยวไปในเบื้องต้น ด้วยเหตุ 2 ประการ คือ ด้วยส่วนบรรพชาด้วยการละความคลุกคลีด้วยหมู่ (ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/670/15 65/543/9 |
161 | [๒๔๐] " ยศและเกียรติในกาลก่อนของภิกษุนั้นย่อมเสื่อมไป ภิกษุเห็นความเสื่อมแม้นั้นแล้ว พึงศึกษา เพื่อละเมถุนธรรมเสีย" (ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/674/2 65/546/8 |
162 | [๒๔๒] สิกขา 3 อย่าง คือ อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา.(ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/675/16 65/547/19 |
163 | [๒๔๓] " ภิกษุนั้นถึงพร้อมด้วยความดำริ ย่อมซบเซาเหมือนคนกำพร้า ได้ยินเสียงติเตียนของชนเหล่าอื่นแล้ว ย่อมเป็นผู้เก้อเขินเป็นผู้เช่นนั้น".(ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/677/16 65/549/10 |
164 | [๒๔๖] " ลำดับนั้น ภิกษุนั้นถูกวาทะของชนเหล่าอื่น ตักเตือน ย่อมกระทำศัสตราการกล่าวเท็จทั้งรู้ อยู่นั้นเป็นเครื่องผูกพันภิกษุนั้น ภิกษุนั้นย่อมหยั่งลงสู่ความเป็นผู้พูดเท็จ" (ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/679/17 65/551/4 |
165 | [๒๔๗] ศัสตรา 3 อย่าง คือ ศัสตราทางกาย ศัสตราทางวาจา ศัสตราทางใจ.(ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/680/5 65/551/13 |
166 | [๒๕๐-๒๕๔] ต้นตรงปลายคด (ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/682/9 65/553/13 |
167 | [๒๕๙] " บุคคลพึงศึกษาวิเวกนั่นเทียว เพราะความประพฤติวิเวกนั้น เป็นกิจอันสูงสุดของพระอริยะทั้งหลาย บุคคลไม่พึงสำคัญว่า เราเป็นผู้ประเสริฐด้วยความประพฤติวิเวกนั้น บุคคลนั้นแลย่อมเข้าไปใกล้พระนิพพาน" (ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/688/10 65/558/19 |
168 | [๒๖๔] " หมู่สัตว์ผู้ยินดีในกามทั้งหลาย ย่อมรักใคร่ต่อมุนีผู้ประพฤติว่าง ไม่มีอาลัยในกามทั้งหลายผู้ข้ามโอฆะได้แล้ว" (ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/690/6 65/560/7 |
169 | นามมี 4 อย่าง คือ อาวัตถิกนาม ลิงคิกนาม เนมิตตกนาม อธิจจสมุปปันนนาม.(อ.ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/698/14 65/567/3 |
170 | นิรุตติศาสตร์ 5 อย่าง คือ การลงอักษรใหม่ การเปลี่ยนอักษร การแปลงอักษรการลบอักษร และการประกอบด้วยความสมบูรณ์แห่งเนื้อความของธาตุทั้งหลาย.(อ.ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/699/17 65/568/1 |
171 | มาร 5 คือ กิเลสมาร ขันธมาร อภิสังขารมาร มัจจุมาร และเทวบุตรมาร (อ.ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/701/10 65/569/7 |
172 | คำว่า สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะเวทัลละ(อ.ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/709/13 65/575/26 |
173 | ปุถุชน 2 จำพวก คือ อันธพาลปุถุชน กัลยาณปุถุชน (อ.ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/716/18 65/581/15 |
174 | ผู้ใดในตอนแรกไม่ตั้งใจว่า เราจักกล่าวเท็จ แต่กล่าวรู้ว่าเรากำลังกล่าวเท็จ แม้กล่าวแล้วก็รู้เรากล่าวเท็จแล้ว ไม่พึงปรับผู้นั้นด้วยมุสาวาท ย่อมเป็นการกล่าวเล่นหรือกล่าวเสียงร้องเท่านั้น (อ.ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/723/8 65/586/25 |
175 | จิตนี้เมื่อดวงแรกยังไม่ดับ ดวงหลังย่อมไม่เกิดขึ้น เพราะเกิดขึ้นติดๆ กันจึงปรากฏเหมือนดวงเดียว. (อ.ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/724/4 65/587/19 |
176 | การลงกรรมกรณ์ แบบต่างๆ (อ.ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/725/11 65/588/22 |
177 | ความว่าง 2 อย่าง คือ ตามลำดับกิเลส ตามลำดับมรรค. (อ.ติสสเมตเตยยสุตตนิเทส) 65/732/11 65/594/21 |
178 | [๒๗๓] " สมณพราหมณ์ เหล่านั้น ใคร่วาทะ เข้าไปสู่บริษัทเป็นคู่ปรับ ย่อมมุ่งกันและกันว่าเป็นพาล สมณพราหมณ์ เหล่านั้น อาศัยสิ่งอื่น แล้วย่อมกล่าวถ้อยคำคัดค้านกัน เป็นผู้ใคร่ความสรรเสริญ กล่าวว่า ตนเป็นคนฉลาด" (ปสูรสุตตนิทเทส) 65/738/2 65/599/15 |
179 | [๒๗๘] " ชนผู้ประกอบด้วยถ้อยคำในท่ามกลางบริษัท เมื่ออยากได้ความสรรเสริญย่อมเป็นผู้ลังเลใจ ย่อมเป็นผู้เก้อเขินในเมื่อ ถ้อยคำของตนถูกเขาค้านตกไปย่อมขัดเคือง เพราะความติเตียนย่อมเป็นผู้แสวงหาช่องทางแก้ตัว".(ปสูรสุตตนิทเทส) 65/740/6 65/601/11 |
180 | [๒๘๘] " ความวิวาทกันเหล่านี้ เกิดแล้วในสมณะทั้งหลาย ความยินดี และความยินร้าย ย่อมมีในเพราะความวิวาทเหล่านั้น บุคคลเห็นโทษแม้นี้แล้ว พึงงดเว้นการคัดค้านกัน เพราะประโยชน์อื่นจากการได้ความสรรเสริญย่อมไม่มี".(ปสูรสุตตนิทเทส) 65/745/8 65/605/14 |
181 | [๒๙๓] "ก็หรือว่า บุคคลกล่าววาทะในท่ามกลางบริษัทย่อมได้รับสรรเสริญในเพราะทิฏฐินั้น บุคคลนั้นย่อมหัวเราะ และเฟื่องฟูขึ้นด้วยประโยชน์ ในความชนะนั้น เพราะบุคคลนั้น บรรลุประโยชน์นั้นแล้ว ได้เป็นผู้สมใจนึก" (ปสูรสุตตนิทเทส) 65/748/2 65/607/16 |
182 | [๒๙๘] " ความเฟื่องฟูเป็นพื้นย่ำยีแห่งบุคคลนั้น บุคคลนั้นย่อมกล่าวความถือตัวและความดูหมิ่น บุคคลเห็นโทษแม้นั้นแล้วไม่ควรวิวาทกัน ผู้ฉลาดย่อมไม่กล่าวความหมดจด เพราะวิวาทนั้น" (ปสูรสุตตนิทเทส) 65/749/16 65/608/23 |
183 | [๓๐๕] ผู้คะนองปรารถนาคนกล้าที่เป็นศัตรู ย่อมพบคนกล้าที่เป็นศัตรู ฉันใด เจ้าทิฏฐิย่อมพบเจ้าทิฏฐิ ฉันนั้น (ปสูรสุตตนิทเทส) 65/752/8 65/611/4 |
184 | [๓๑๓] มารเสนา ได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ราคะ โทสะ โมหะ ฯลฯ.(ปสูรสุตตนิทเทส) 65/756/8 65/614/9 |
185 | [๓๑๙] คำว่า ใจ ได้แก่ จิต ใจ มานัส หทัย บัณฑระ มนะ มนายตนะ มนินทรีย์วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุที่เกิดแต่ผัสสะ (ปสูรสุตตนิทเทส) 65/759/1 65/616/13 |
186 | จิตนั่นแล ชื่อว่า ปัณฑระ ด้วยอรรถว่า บริสุทธิ์ จิตนี้ท่านกล่าวเอาภวังค์จิต.(อ.ปสูรสุตตนิทเทส) 65/777/17 65/631/16 |
187 | มารมีอานุภาพมาก เป็นใหญ่ในสวรรค์ ชั้นกามาพจร 6 ชั้น. (อ.ปสูรสุตตนิทเทส) 65/794/11 65/645/11 |
188 | [๓๓๗] สัมมาทิฏฐิ การฟัง ญาณ ศีล พรต ธรรมเหล่านี้ เป็นเครื่องอุดหนุน เพื่อถึง บรรลุ ถูกต้อง ทำให้แจ้ง ซึ่งความสงบภายใน (มาคันทิยสุตตนิทเทส) 65/811/8 65/659/17 |
189 | [๓๕๙] " บุคคลละที่อยู่แล้ว ไม่ท่องเที่ยวไปสู่ที่อยู่ มุนีไม่ทำความเยื่อใยในกาม เปล่าว่างจากกามทั้งหลาย ไม่มุ่งหมายอัตภาพต่อไป ไม่พึงทำถ้อยคำแก่งแย่งกับด้วยชน"(มาคันทิยสุตตนิทเทส) 65/823/10 65/669/11 |
190 | [๓๖๐] รูปธาตุเป็นที่อาศัยแห่งวิญญาณ ก็แหละวิญญาณที่ผูกพันไว้ด้วยราคะ ในรูปธาตุ เรียกว่า ท่องเที่ยวไปสู่ที่อยู่ (มาคันทิยสุตตนิทเทส) 65/824/3 65/669/26 |
191 | [๓๖๐] ภิกษุเป็นผู้เกี่ยวข้องกับคฤหัสถ์ทั้งหลาย เพลินร่วมกัน โศกร่วมกัน เมื่อพวกคฤหัสถ์ ถึงความสุขก็สุขด้วย ถึงความทุกข์ ก็ทุกข์ด้วย เมื่อพวกคฤหัสถ์มีกิจที่ควรทำเกิดขึ้น ก็ช่วยเหลือด้วยตนเอง เรียกว่า ภิกษุนั้นเป็นผู้เกิดความเยื่อใยในกาม (มาคันทิยสุตตนิทเทส) 65/825/15 65/671/4 |
192 | [๓๖๓] บุคคล ชื่อว่า นาค เพราะ อรรถว่า ไม่ทำความชั่ว. (มาคันทิยสุตตนิทเทส) 65/829/1 65/674/9 |
193 | [๓๗๐] " กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัด ย่อมไม่มีแก่มุนีผู้เว้นแล้วจากสัญญา โมหะย่อมไม่มีแก่มุนีผู้หลุดพ้นแล้วด้วยปัญญา ชนเหล่าใดยังถือสัญญา และทิฏฐิ ชนเหล่านั้นกระทบ กระทั่งกันอยู่ ย่อมเที่ยวไปในโลก" (มาคันทิยสุตตนิทเทส) 65/835/17 65/680/2 |
194 | เลือดที่อยู่เต็มส่วนล่างของตับ มีประมาณเต็มบาตรใบหนึ่งแล้วค่อยๆ ไหลไปบนหัวใจ ม้าม และปอดทำหัวใจม้าม ตับ และปอดให้ชุ่ม (อ.มาคันทิยสุตตนิทเทส) 65/839/15 65/683/9 |