1 | [๑] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ย่อมไม่เป็นที่รัก ที่สรรเสริญของ เพื่อนพรหมจรรย์ คือ เป็นผู้มุ่งลาภ... มีความเห็นผิด (อัปปิยสูตรที่ ๑) (ปฐมปิยสูตร) 37/1/1437/1/14 37/2/1 |
2 | [๒] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่สรรเสริญของ เพื่อนพรหมจรรย์ คือ ไม่เป็นผู้มุ่งลาภ... ไม่ตระหนี่ (อัปปิยสูตร ๒) (ทุติยปิยสูตร) 37/4/1137/4/11 37/4/11 |
3 | [๓-๔] พละ 7 ประการ คือ ศรัทธา วิริยะ หิริ โอตตัปปะ สติ สมาธิ ปัญญา (สูตร ๓-๔) 37/5/237/5/2 37/5/3 |
4 | [๕-๖] ทรัพย์ 7 ประการ คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ สุตะ จาคะ ปัญญา (สูตร ๕-๖) 37/10/237/10/2 37/8/8 |
5 | [๖] " ทรัพย์ คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ สุตะ จาคะและปัญญาเป็นที่ 7 ทรัพย์เหล่านี้มีแก่ผู้ใด เป็นหญิง หรือชายก็ตาม บัณฑิตเรียกผู้นั้นว่า เป็นผู้ ไม่ยากจน ชีวิตของผู้นั้นไม่เปล่าประโยชน์ เพราะฉะนั้น ท่านผู้มีปัญญา เมื่อ ระลึกถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พึงประกอบศรัทธา ศีล ความ เลื่อมใส และการเห็นธรรม " (สูตร ๕-๖) 37/12/1737/12/17 37/10/19 |
6 | [๗] ทรัพย์ 7 ประการ มีศรัทธา เป็นต้น นี้ไม่ทั่วไปแก่ ไฟ น้ำ พระราชา โจร ทายาทผู้ไม่เป็นที่รัก. (อุคคสูตร) 37/14/1137/14/11 37/11/12 |
7 | [๘] สังโยชน์ 7 ประการ คือ ความยินดี ความยินร้าย ความเห็นผิด ความสงสัย มานะ ความกำหนัดในภพ อวิชชา (สังโยชนสูตร) 37/16/237/16/2 37/13/3 |
8 | [๙] ภิกษุย่อมอยู่ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อละ เพื่อตัดสังโยชน์ 7 ประการ คือ ความยินร้าย... อวิชชา. (ปหานสูตร) 37/17/237/17/2 37/14/3 |
9 | [๑๐] สังโยชน์ 7 ประการ คือ ความยินดี ความยินร้าย ความเห็นผิด ความสงสัย มานะ ความริษยา ความตระหนี่ (มัจฉริยสูตร) 37/18/237/18/2 37/15/3 |
10 | [๑๑] อนุสัย (กิเลสที่นอนเนื่องในสันดาน) 7 ประการ คือ กามราคะ ปฏิฆะ (ความหงุดหงิด) ทิฏฐิ วิจิกิจฉา (ความลังเลสงสัย) มานะ (ความถือตัว) ภวราคะ(ความกำหนัดในภพ) อวิชชา (ความไม่รู้จริง) (ปฐมอนุสยสูตร) 37/19/337/19/3 37/16/4 |
11 | [๑๒] ภิกษุย่อมอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อละ เพื่อตัดอนุสัย 7 ประการ คือ กามราคะ... อวิชชา (ทุติยอนุสยสูตร) 37/20/237/20/2 37/16/11 |
12 | [๑๓] สกุลซึ่งประกอบด้วยองค์ 7 ประการ ภิกษุไม่ควรเข้าไป หรือเข้าไปแล้ว ก็ไม่ควรนั่ง คือ ต้อนรับด้วยไม่เต็มใจ ไหว้ด้วยไม่เต็มใจ ให้อาสนะด้วยไม่ เต็มใจ ซ่อนของที่มีอยู่ เมื่อมีของมากให้น้อย เมื่อมีของประณีตให้ของเศร้าหมอง ให้โดยไม่เคารพ (กุลสูตร) 37/21/237/21/2 37/17/13 |
13 | [๑๔] บุคคล 7 จำพวก เป็นนาบุญของโลก คือ อุภโตภาควิมุต... สัทธานุสารี (ปุคคลสูตร) 37/23/237/23/2 37/19/3 |
14 | อธิบายพระอริยบุคคล 7 จำพวก (อ.ปุคคลสูตร) 37/23/1437/23/14 37/19/12 |
15 | [๑๕] บุคคลเปรียบด้วยน้ำ 7 จำพวก มีจมลงแล้วคราวเดียว ก็เป็นอันจมอยู่ เป็นต้น (อุทกูปมสูตร) 37/27/237/27/2 37/22/8 |
16 | [๑๖] บุคคล 7 จำพวก เป็นนาบุญของโลก (อนิจจสูตร) (อนิจจานุปัสสีสูตร) 37/31/237/31/2 37/25/7 |
17 | สมสีสีบุคคล 4 จำพวก คือ โรคสมสีสี เวทนาสมสีสี อิริยาปถสมสีสีและ ชีวิตสมสีสี (อ.อนิจจสูตร) 37/34/237/34/2 37/28/4 |
18 | [๑๗] บุคคล 7 จำพวก มีผู้พิจาราณาเห็นความทุกข์ มีความสำคัญว่าเป็นทุกข์ ทั้งรู้ว่าเป็นทุกข์ ในสังขารทั้งปวง เป็นต้น. ย่อมเป็นนาบุญของโลก (ทุกขสูตร) (ทุกขานุปัสสีสูตร) 37/36/237/36/2 37/29/13 |
19 | [๑๗] บุคคล 7 จำพวก มีผู้พิจารณาเห็นว่าเป็นอนัตตา มีความสำคัญว่าเป็น อนัตตาทั้งรู้ว่าเป็นอนัตตา ในธรรมทั้งปวง เป็นต้น ย่อมเป็นนาบุญของโลก(อนัตตสูตร) (อนัตตานุปัสสีสูตร) 37/37/2 37/37/2 37/30/8 |
20 | [๑๗] บุคคล 7 จำพวก มีผู้พิจารณาเห็นความเป็นสุข สำคัญว่าสุข ทั้งรู้ว่าเป็น สุขในนิพพาน ฯลฯ เป็นนาบุญของโลก (นิพพานสูตร) 37/38/237/38/2 37/31/3 |
21 | [๑๘] นิททสวัตถุ (ธรรมเป็นเหตุให้มีอายุไม่ถึง 10 ปี) 7 ประการ มีความเป็นผู้มี ความพอใจอย่างแรงกล้า ในการสมาทานสิกขา และเป็นผู้ได้ความยินดี ในการ สมาทานสิกขาต่อไป เป็นต้น (นิททสวัตถุสูตร) 37/41/237/41/2 37/33/8 |
22 | [๑๙] พระพุทธองค์ทรงแสดง อปริหานิยธรรม 7 ประการ แก่เจ้าลิจฉวี ที่ สารันททเจดีย์ (สารันททสูตร) 37/43/337/43/3 37/36/4 |
23 | สารันททเจดีย์ นั้นก่อนที่พระพุทธเจ้าจะอุบัติ ได้เป็นที่อยู่ของยักษ์ ชนทั้งหลาย ได้สร้างเป็นวิหารถวาย พระพุทธเจ้าที่เจดีย์นั้น. (อ.สารันททสูตร) 37/45/437/45/4 37/38/5 |
24 | เมื่อเทวดาไม่ได้พลีกรรมที่เป็นธรรม ย่อมทำโรคไอ โรคศีรษะ ให้กำเริบ ถ้าได้บุญก็ช่วยในยามสงครามได้ (อ.สารันททสูตร) 37/50/1637/50/16 37/42/20 |
25 | ประเทศใด ไม่เป็นที่อันน่าอยู่ของบรรพชิต เทวดาย่อมไม่รักษา อมนุษย์จะ หนาแน่น (อ.สารันททสูตร) 37/52/337/52/3 37/43/24 |
26 | [๒๐] เจริญอย่างเดียวไม่มีเสื่อม (วัสสการสูตร) 37/55/137/55/1 37/45/25 |
27 | เหตุที่พระเจ้าอชาตสัตรู บุกแคว้นวัชชี (อ.วัสสการสูตร) 37/59/1637/59/16 37/49/18 |
28 | ภายใน 3 ปี พวกเจ้าวัชชีจักได้ทำบุญอันเป็นที่พึ่งแก่ตนได้ ก่อนถูกรุกราน (อ.วัสสการสูตร) 37/61/1537/61/15 37/51/11 |
29 | [๒๑] ทรงแสดงอปริหานิยธรรม 7 ประการ แก่ภิกษุทั้งหลาย (ภิกขุสูตร) 37/63/237/63/2 37/52/3 |
30 | ภิกษุทั้งหลายแสดงคำสอนนอกธรรม นอกวินัย ชื่อว่าเพิกถอนข้อที่ทรง บัญญัติไว้แล้ว (อ.ภิกขุสูตร) 37/66/1637/66/16 37/55/9 |
31 | ภิกษุเหล่าใดย่อมนำสงฆ์ คือ เป็นหัวหน้าให้ภิกษุทั้งหลายประพฤติในสิกขา 3 พระเถระเหล่านั้น ชื่อว่า สังฆปริณายก ผู้สงฆ์ (อ.ภิกขุสูตร) 37/67/1137/67/11 37/56/1 |
32 | ภิกษุแม้ได้บรรลุฌานในเสนาสนะใกล้บ้าน เมื่อออกจากฌานแล้ว ได้ยินเสียง หญิงชาย และเด็ก คุณวิเศษที่ภิกษุนั้นบรรลุแล้ว ย่อมเสื่อมโดยแท้ (อ.ภิกขุสูตร) 37/68/1637/68/16 37/57/1 |
33 | [๒๒] อปริหานิยธรรม อีก 7 ประการ มีการไม่ยินดี การงาน เป็นต้น (กรรมสูตร) 37/72/237/72/2 37/59/4 |
34 | ภิกษุใด ในเวลาเรียน ก็เรียน เวลาทำวัตรก็ทำ เวลาทำมนสิการ ก็ทำมนสิการ ชื่อว่า ผู้ไม่ยินดีในการงาน (อ.กรรมสูตร) 37/73/237/73/2 37/60/5 |
35 | [๒๓] อปริหานิยธรรม 7 ประการ คือ มีศรัทธา มีหิริ มีโอตตัปปะ พหูสูต ปรารภความเพียร มีสติ มีปัญญา พึงหวังความเจริญได้แน่นอน. (สัทธิยสูตร) 37/75/237/75/2 37/62/3 |
36 | [๒๔] อปริหานิยธรรม 7 ประการคือ ภิกษุทั้งหลายจักเจริญโพชฌงค์ 7 อยู่เพียงใด ก็พึงหวังความเจริญได้แน่นอน ไม่พึงหวังความเสื่อมเลย เพียงนั้น (โพธิยสูตร) 37/76/237/76/2 37/62/17 |
37 | [๒๕] อปริหานิยธรรม 7 ประการคือ เจริญอนิจจสัญญา...เจริญนิโรธสัญญาอยู่เพียงใด ก็พึงหวังความเจริญได้แน่นอน ไม่พึงหวังความเสื่อมเลย เพียงนั้น (สัญญาสูตร) 37/77/237/77/2 37/63/11 |
38 | [๒๖] ธรรม 7 ประการ ย่อมเป็นไปเพื่อความเสื่อมแก่ภิกษุผู้เสขะ มีความเป็นผู้ ชอบการงาน เป็นต้น (เสขสูตร) 37/78/237/78/2 37/64/7 |
39 | [๒๗] ธรรม 7 ประการ ย่อมเป็นไป เพื่อความเสื่อมแก่อุบาสก มีอุบาสกขาดการ เยี่ยมเยียนภิกษุ เป็นต้น (หานิสูตร) 37/80/237/80/2 37/65/16 |
40 | [๒๘] ความเจริญของอุบาสก 7 ประการ มีอุบาสกไม่ขาดการเยี่ยมเยียนภิกษุ เป็นต้น. (วิปัตติสัมภวสูตร) 37/83/437/83/4 37/67/16 |
41 | [๒๙] ธรรม 7 ประการ ย่อมเป็นไปเพื่อความไม่เสื่อมแก่ภิกษุ คือ ความเป็นผู้ เคารพในพระศาสดา ในธรรม ในสงฆ์ ในสิกขา ในสมาธิ ในความไม่ประมาทในปฏิสันถาร. (อัปปมาทสูตร) 37/85/3 37/85/3 37/69/4 |
42 | [๓๐] ธรรม 7 ประการ เพื่อความไม่เสื่อมแก่ภิกษุ คือ ความเป็นผู้เคารพใน พระศาสดา ในธรรม ในสงฆ์ ในสิกขา ในสมาธิ ในหิริ ในโอตตัปปะ .(หิรีมาสูตร) (หิริมาสูตร) 37/87/237/87/2 37/70/16 |
43 | [๓๑] ธรรม 7 ประการ เพื่อความไม่เสื่อมแก่ภิกษุ คือ ความเป็นผู้เคารพในพระศาสดา ในธรรม ในสงฆ์ ในสิกขา ในสมาธิ เป็นผู้ว่าง่าย เป็นผู้มีมิตรดีงาม (ปฐมสุวจสูตร) 37/88/237/88/2 37/71/13 |
44 | [๓๒] ธรรม 7 ประการ เพื่อความไม่เสื่อมแก่ภิกษุ มีภิกษุที่เคารพในพระศาสดา กล่าวสรรเสริญ และชักชวนผู้อื่นให้มีความเคารพในพระศาสดา เป็นต้น. (ทุติยสุวจสูตร) 37/89/1237/89/12 37/72/18 |
45 | [๓๓] พึงคบมิตรผู้ประกอบด้วยองค์ 7 ประการ คือ มิตรผู้ให้ของที่ให้ได้ยาก รับ ทำกิจที่ทำได้ยาก อดทนถ้อยคำที่อดใจได้ยาก บอกความลับของตนแก่เพื่อน ปิดความลับของเพื่อน ไม่ละทิ้งในยามวิบัติ เมื่อเพื่อนสิ้นโภคสมบัติ ก็ไม่ดูหมิ่น (ปฐมสขาสูตร) 37/91/237/91/2 37/74/3 |
46 | [๓๔] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ควรคบเป็นมิตร ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้ถูกขับไล่ คือ ภิกษุเป็นที่รักใคร่พอใจ เป็นที่เคารพ เป็นผู้ควรสรรเสริญ เป็น ผู้ฉลาดพูด เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ พูดถ้อยคำลึกซึ้ง ไม่ชักนำในทางที่ไม่ดี (ทุติยสขาสูตร) 37/93/237/93/2 37/75/17 |
47 | [๓๕] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ พึงกระทำให้แจ้งซึ่งปฏิสัมภิทา ต่อ การไม่นานเลย คือ จิตหดหู่ท้อแท้ ฟุ้งซ่าน ก็รู้ชัดตามความเป็นจริง เวทนา สัญญา สัญญา วิตกย่อมเกิดขึ้น ย่อมปรากฏ ย่อมตั้งอยู่ไม่ได้ก็ทราบ อนึ่งนิมิตในธรรม เป็นที่สบาย ไม่เป็นที่สบาย เลว ประณีต ดำขาว และเป็นปฏิภาคกัน อันภิกษุ นั้นเรียนดีแล้ว มนสิการดีแล้ว ทรงไว้แทงตลอดดีแล้วด้วยปัญญา (ปฐมปฏิสัมภิทาสูตร) 37/95/237/95/2 37/77/3 |
48 | [๓๖] ทรงแสดงถึงพระสารีบุตร ว่าเป็นผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ย่อม กระทำให้แจ้งซึ่ง ปฏิสัมภิทา 4 ด้วยปัญญาอันยิ่งเข้าถึงอยู่ (ทุติยปฏิสัมภิทาสูตร) 37/97/2 37/97/2 37/78/12 |
49 | [๓๗] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ย่อมยังจิตให้เป็นไปในอำนาจได้ คือ เป็นผู้ฉลาดในสมาธิ ในการเข้าสมาธิ ในการตั้งอยู่แห่งสมาธิ ในการออกจาก สมาธิ ในความพร้อมมูลแห่งสมาธิ ในอารมณ์แห่งสมาธิ ในอภินิหารแห่งสมาธิ . (ปฐมวสสูตร) 37/98/237/98/2 37/79/6 |
50 | [๓๘] พระสารีบุตรประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ย่อมยังจิตให้เป็นไปในอำนาจได้ มีความเป็นผู้ฉลาดในสมาธิ เป็นต้น (ทุติยวสสูตร) 37/98/1337/98/13 37/79/17 |
51 | [๓๙] ภิกษุผู้มีฉันทะกล้า และความรักอย่างลึกซึ้งในธรรม 7 ประการ ควรเรียกว่า ภิกษุผู้นิททสะ (ปฐมนิททสสูตร) 37/100/1237/100/12 37/81/17 |
52 | [๔๐] วัตถุแห่งนิททสะ 7 ประการ คือ เป็นผู้มีศรัทธา มีหิริ มีโอตตัปปะ เป็นพหูสูต ปรารภความเพียร มีสติ มีปัญญา (ทุติยนิททสสูตร) 37/103/1437/103/14 37/83/23 |
53 | [๔๑] วิญญาณฐิติ (ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งวิญญาณ) 7 ประการ คือ สัตว์พวกที่มีกาย ต่างกัน มีสัญญาต่างกัน... สัตว์พวกชั้นอากิญจัญญายตนะ (จิตตสูตร) 37/105/337/105/3 37/85/4 |
54 | พรหมปาริสัชชา บังเกิดด้วยปฐมฌานอย่างอ่อน มีอายุประมาณ ส่วนที่ 3 แห่งกัป. พรหมปุโรหิตา มีอายุ ครึ่งกัป มหาพรหมบังเกิดด้วย ปฐมฌานอย่าง ประณีตมีอายุประมาณกัปหนึ่ง (อ.จิตตสูตร) 37/107/1037/107/10 37/87/8 |
55 | พรหมชื่อว่า อาภัสสรา เพราะมีรัศมีซ่านออก เหมือนเปลวไฟแห่งคบเพลิง มีอายุประมาณ 8 กัป , อัปปมาณาพรหม มีอายุ 4 กัป , ปริตตาภาพรหม มีอายุ 2 กัป (อ.จิตตสูตร) 37/108/537/108/5 37/87/24 |
56 | สุภกิณหาพรหม มีรัศมีจากสรีระ ระยิบระยับด้วยความงาม มีอายุประมาณ 64 กัป , อัปปมาณาสุภาพรหม มีอายุ 32 กัป , ปริตตสุภาพรหม มีอายุ 16 กัป (อ.จิตตสูตร) 37/108/1737/108/17 37/88/13 |
57 | เมื่อโลกว่างจากพระพุทธเจ้า ติดต่อกันตลอดแสนกัป หรือ อสงไขยหนึ่งบ้าง สุทธาวาสพรหมก็ว่างเปล่า (อ.จิตตสูตร) 37/109/737/109/7 37/88/22 |
58 | [๔๒] ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง อันประกอบด้วยองค์ 7 ประการ คือ สัมมาทิฏฐิ...สัมมาสติ เรียกว่า อริยสมาธิ (ปริกขารสูตร) 37/110/237/110/2 37/89/12 |
59 | [๔๓] ไฟ 7 กอง ได้แก่ ไฟ คือ ราคะ โทสะ โมหะ ไฟ คือ อาหุไนยบุคคล ไฟ คือ คหบดี ไฟ คือ ทักขิไณยบุคคล ไฟ เกิดแต่ไม้ (ปฐมอัคคิสูตร) 37/111/237/111/2 37/90/8 |
60 | ผู้ปฏิบัติผิดใน มารดา บิดา ย่อมบังเกิดในอบาย มีนรก เป็นต้น. (อ.ปฐมอัคคิสูตร) 37/111/1537/111/15 37/91/2 |
61 | คฤหัสถ์ผู้ปฏิบัติผิดในภิกษุสงฆ์ นั้น ด่า บริภาษ ภิกษุสงฆ์ย่อมบังเกิดใน อบาย เพราะเหตุนั้น ภิกษุสงฆ์นั้น ท่านเรียกว่า ทักขิเณยยัคคิ (อ.ปฐมอัคคิสูตร) 37/112/837/112/8 37/91/14 |
62 | [๔๔] บุคคลเมื่อจะก่อไฟ ปักหลักบูชายัญ เบื้องต้นเขาย่อมเงื้อศาตรา 3 ชนิด คือ ศาตราทางกาย ทางวาจา ทางใจ เขาย่อมคิด ย่อมกล่าววาจา ย่อมลงมือเขา คิดว่าจะทำกุศลแต่กลับทำอกุศลอันมีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นวิบาก (ทุติยอัคคิสูตร) 37/114/1337/114/13 37/93/7 |
63 | [๔๔] พระพุทธองค์ทรงตรัสแก่อุคคตสรีรพราหมณ์ ให้เว้นไฟ 3 กอง บริหารไฟ 3 กอง จบเทศนา พราหมณ์ขอเป็นอุบาสกและได้ปล่อยสัตว์ทั้งหลายที่เตรียม ไว้บูชายัญ. (ทุติยอัคคิสูตร) 37/115/2037/115/20 37/94/8 |
64 | [๔๕] สัญญา 7 ประการ อันภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอมตะเป็นที่สุด คือ อสุภสัญญา... ทุกเข อนัตตสัญญา (ปฐมสัญญาสูตร) 37/120/237/120/2 37/97/11 |
65 | [๔๖] ผลจากการที่ภิกษุอบรมแล้ว ซึ่ง สัญญา 7 ประการ มีอสุภสัญญาเป็นต้น เมื่อภิกษุมีใจอบรมแล้วด้วย อสุภสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหวนกลับ ถอยกลับ จากการร่วมเมถุนธรรม (ทุติยสัญญาสูตร) 37/121/237/121/2 37/98/8 |
66 | [๔๗] เมถุนสังโยค (อาการพัวพันเมถุน) 7 ประการ อันได้ชื่อว่า พรหมจรรย์ ขาดทะลุ ด่าง พร้อย. (เมถุนสูตร) 37/130/237/130/2 37/106/3 |
67 | [๔๘] พระพุทธองค์ทรงแสดงเหตุให้ล่วงพ้นสภาพแห่ง หญิง และชาย (สังโยคสูตร) 37/136/237/136/2 37/110/19 |
68 | [๔๙] การให้ทาน 7 อย่าง ที่หวังผลต่างกัน. (ทานสูตร) 37/139/237/139/2 37/113/13 |
69 | [๕๐] ท้าวเวสสวัณมหาราชขอส่วนบุญ (มาตาสูตร) 37/146/1637/146/16 37/120/1 |
70 | [๕๐] ความอัศจรรย์ 7 ประการ ของนันทมารดา อุบาสิกา ชาวเมืองเวฬุกัณฏกะ (มาตาสูตร) 37/148/1137/148/11 37/121/7 |
71 | นางปุณณา ทาสีของอนาถบิณฑิกเศรษฐี นิมนต์พระพุทธเจ้าซึ่งกำลังเสด็จ จาริกให้กลับสู่วิหารเชตวัน เพื่อนางจะได้ตั้งอยู่ในสรณะรักษาศีล 5 (อ.มาตาสูตร) 37/151/837/151/8 37/123/11 |
72 | ท้าวเวสสวัณทำยุ้งข้าว 1,250 ยุ้งของนันทมารดา ให้เต็มด้วยข้าวสาลีแดง (อ.มาตาสูตร) 37/154/2037/154/20 37/126/12 |
73 | [๕๑] เพราะทิฏฐิดับ ความสงสัยในวัตถุที่พระพุทธองค์ไม่ทรงพยากรณ์ จึงไม่เกิด ขึ้นแก่อริยสาวก ผู้ได้สดับแล้ว (อัพยากตสูตร) 37/157/937/157/9 37/128/9 |
74 | [๕๒] ทรงแสดง ปุริสคติ 7 ประการ และอนุปาทาปรินิพพาน (ปุริสคติสูตร) 37/161/237/161/2 37/131/9 |
75 | [๕๓] พระมหาโมคคัลลานะ ขึ้นไปถามติสสพรหมถึงเทวดาเหล่าใด มีญาณหยั่งรู้ว่าผู้ใดยังมีอุปาทานขันธ์เหลือ ผู้ใดไม่มีอุปาทานขันธ์เหลือ ติสสพรหมตอบว่า เทวดาชั้นพรหมผู้ไม่ยินดีด้วย อายุ วรรณะ สุข ยศ และความเป็นอธิบดี อันเป็น ของพรหม และรู้ชัดตามเป็นจริง ซึ่งอุบายเป็นเครื่องสลัดออกแห่งอายุเป็นต้นนั้น ย่อมมีญาณหยั่งรู้. (ติสสสูตร) 37/167/2037/167/20 37/137/19 |
76 | [๕๔] ทรงแสดงผลแห่งทานที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน แก่ สีหเสนาบดี. (สีหสูตร) 37/173/237/173/2 37/142/8 |
77 | [๕๕] ฐานะ 4 ประการ ที่พระพุทธเจ้าไม่ต้องรักษา. (รักขิตสูตร) 37/178/237/178/2 37/146/6 |
78 | [๕๕] พระตถาคตไม่พึงถูกติเตียนด้วยฐานะ 3 ประการ (รักขิตสูตร) 37/178/1137/178/11 37/146/18 |
79 | [๕๖] เหตุให้พระสัทธรรมไม่ตั้งอยู่นาน ในเมื่อพระตถาคตปรินิพพานแล้ว .(กิมมิลสูตร) (กิมิลสูตร) 37/181/237/181/2 37/148/12 |
80 | [๕๗] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ไม่นานนัก พึงทำให้แจ้ง เจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้ คือ เป็นผู้มีศรัทธา มีศีล เป็นพหูสูต เป็นผู้หลีก ออกเร้น ปรารภความเพียร มีสติ มีปัญญา (สัตตธรรมสูตร) 37/182/237/182/2 37/149/13 |
81 | [๕๘] วิธีแก่ง่วง (โมคคัลลานสูตร) 37/183/1337/183/13 37/150/16 |
82 | [๕๘] ทรงตรัสให้พระมหาโมคคัลลานะศึกษาว่าจักไม่ชูงวง(ถือตัว)เข้าไปสู่ตระกูล จักไม่พูดถ้อยคำ ซึ่งจะเป็นเหตุให้ทุ่มเถียงกัน และพระองค์สรรเสริญ ความคลุกคลีด้วยเสนาสนะอันสงัด. (โมคคัลลานสูตร) 37/184/1537/184/15 37/151/22 |
83 | [๕๙] บุญนี้ เป็นชื่อ ของความสุข (ปุญญวิปากสูตร) 37/192/237/192/2 37/158/3 |
84 | [๕๙] พระโพธิสัตว์เคยเจริญ เมตตาจิตตลอด 7 ปี ครั้นแล้วไม่ได้ลงมายังโลก มนุษย์ตลอด 7 สังวัฏฏวิวัฏฏกัป (ปุญญวิปากสูตร) 37/192/537/192/5 37/158/6 |
85 | [๖๐] ภริยา 7 จำพวก คือ ภริยาเสมอด้วยเพชฌฆาต... เสมอด้วยทาสี (ภริยาสูตร) 37/197/1737/197/17 37/162/11 |
86 | [๖๑] ความปรารถนาของคนที่เป็นข้าศึกกัน 7 ประการ ย่อมมาสู่ ชายหรือหญิง ผู้มีความโกรธ. (โกธนาสูตร) 37/203/237/203/2 37/166/8 |
87 | [๖๒] เมื่อไม่มีหิริและโอตตัปปะ อินทรีย์สังวรของบุคคลนั้น ย่อมมีอุปนิสัยถูก กำจัด เมื่อไม่มีอินทรีย์สังวร ศีลของบุคคลนั้น ย่อมมีอุปนิสัยถูกกำจัด (หิริสูตร) 37/212/337/212/3 37/174/4 |
88 | [๖๓] ความปรากฏของพระอาทิตย์ ดวงที่ 2-7 (สุริยสูตร) 37/214/237/214/2 37/176/3 |
89 | [๖๓] ศาสดาสุเนตตะ เจริญเมตตาจิต ตลอด 7 ปี และไม่มาสู่โลกนี้ตลอด 7 สังวัฏฏวิวัฏฏกัป แต่ก็ไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะไปได้ (สุริยสูตร) 37/217/337/217/3 37/178/10 |
90 | เมื่อกัปพินาศสัตว์ไปเกิดในพรหมโลกได้อย่างไร (อ.สุริยสูตร) 37/220/1737/220/17 37/181/6 |
91 | [๖๔] ทรงเปรียบเทียบนครที่มีเครื่องป้องกัน 7 ประการ และหาอาหาร 4 ประการ ได้โดยไม่ยาก กับอริยสาวกผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ และได้ฌาน 4 โดยไม่ยาก มารก็ทำอันตรายไม่ได้ (นครสูตร) (นคโรปมสูตร) 37/223/237/223/2 37/183/8 |
92 | ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุจักเป็นผู้มากด้วยความเบื่อหน่ายในรูปอยู่อันใด ธรรมนี้ ชื่อว่าเป็นธรรมสมควรแก่ภิกษุผู้บวชด้วยศรัทธา นี้ชื่อว่า อนุธรรม ธรรมสมควร แก่ภิกษุนั้น. (อ.นครสูตร) (นคโรปมสูตร) 37/234/637/234/6 37/192/19 |
93 | [๖๕] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ เป็นผู้ควรของคำนับ ฯลฯ เป็นนาบุญ ของโลก คือ รู้จักธรรม รู้จักอรรถ รู้จักตน รู้จักประมาณ รู้จักกาล รู้จักบริษัท รู้จักเลือกคบคน (ธัมมัญญูสูตร) 37/236/237/236/2 37/193/16 |
94 | [๖๖] ทรงเปรียบการผลิดอกออกใบของต้นปาริฉัต ในดาวดึงส์ กับอริยสาวก ผู้ออกบวชจนถึงบรรลุธรรม สำเร็จอรหันต์ (ปาริฉัตตกสูตร) 37/241/237/241/2 37/197/18 |
95 | [๖๖] สมัยใด ต้นปาริฉัต ออกดอกบานเต็มที่ เทวดาพากันดีใจ เอิบอิ่มพรั่งพร้อม ด้วยกามคุณ 5 บำรุงบำเรออยู่ ตลอด 4 เดือนทิพย์ (ปาริฉัตตกสูตร) 37/241/1837/241/18 37/198/15 |
96 | [๖๗] ภิกษุสักการะเคารพอาศัยพระศาสดา อาศัยธรรม อาศัยสงฆ์ อาศัยสิกขา อาศัยสมาธิ อาศัยความไม่ประมาท อาศัยปฏิสันถารอยู่แล จะพึงละอกุศล เจริญกุศล (สักกัจสูตร) 37/248/1337/248/13 37/204/3 |
97 | [๖๗] ภิกษุไม่เคารพในพระศาสดา ในธรรม ในสงฆ์ ชื่อว่าไม่เคารพในสิกขาด้วย (สักกัจสูตร) 37/249/637/249/6 37/204/16 |
98 | [๖๘] เมื่อภิกษุหมั่นเจริญภาวนา ในสติปัฏฐาน เป็นต้น แม้จะไม่เกิดความ ปรารถนาให้จิตหลุดพ้น แต่จิตของภิกษุนั้น ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะ เพราะไม่ ถือมั่นเหมือนไข่ไก่ที่แม้ไก่กกดีแล้ว เหมือนรอยนิ้วมือที่ด้ามมีด เหมือนเชือกผูก เรือเดินสมุทร (ภาวนาสูตร) 37/252/1637/252/16 37/207/23 |
99 | อาสวะ ทั้งหลาย ของบรรพชิต ย่อมสิ้นไปตลอดกาลเป็นนิตย์ ด้วยอุเทส ด้วยปริปุจฉา (การสอบถาม) ด้วยโยนิโสมนสิการ ด้วยวัตรปฏิบัติ. (อ.ภาวนาสูตร) 37/258/137/258/1 37/212/10 |
100 | [๖๙] พระทุศีลกินเหล็กร้อนๆ ดีกว่ากินข้าวโยม (อัคคิขันธูปมสูตร) 37/264/1737/264/17 37/217/13 |
101 | [๗๐] ศาสดาเจ้าลัทธิ 7 คน ผู้ปราศจากความกำหนัดในกาม สอนสาวกเพื่อไปสู่ พรหมโลก ผู้ใดด่าบริภาษ ศาสดาทั้ง 7 นั้น พึงประสบบาปเป็นอันมาก แต่ ผู้ใดด่าบริภาษ ผู้สมบูรณ์ด้วยทิฏฐิคนเดียว ได้บาปมากกว่าด่า ศาสดาทั้ง 7 นั้น (สุเนตตอนุสาสนีสูตร) 37/271/237/271/2 37/222/3 |
102 | [๗๑] สมัย มนุษย์มีอายุ 60,000 ปี เด็กหญิงมีอายุ 500 ปี จึงควรมีสามีได้ และ มีอาพาธ 6 อย่าง คือ เย็น ร้อน หิว ระหาย ปวดอุจจาระ ปวดปัสสาวะ (อรกานุสาสนีสูตร) 37/274/1837/274/18 37/225/15 |
103 | [๗๑] ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลายน้อย นิดหน่อย รวดเร็วมีทุกข์มาก ควรทำกุศล ควรประพฤติพรหมจรรย์ เพราะสัตว์ที่เกิดมาแล้วจะไม่ตายไม่มี. (อรกานุสาสนีสูตร) 37/275/637/275/6 37/225/23 |
104 | [๗๒-๗๙] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ เป็นวินัยธรได้ เป็นพระวินัยธรงาม (วินัยวรรคที่ ๓) 37/278/237/278/2 37/228/4 |
105 | [๘๐] ธรรมเหล่าใด ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความ ดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน โดยส่วนเดียว พึงรู้ว่านี้ไม่ใช่ธรรม ไม่ใช่วินัย ไม่เป็นคำสั่งสอนของศาสดา (วินัยวรรคที่ ๓) 37/281/1637/281/16 37/234/8 |
106 | [๘๑] ธรรมสำหรับระงับอธิกรณ์ 7 ประการ (วินัยวรรคที่ ๓) 37/282/437/282/4 37/235/15 |
107 | [๘๒] ชื่อว่าเป็นภิกษุเพราะทำลาย ธรรม 7 ประการ คือ สักกายทิฏฐิ...มานะ (พระสูตรที่ไม่สงเคราะห์เข้าในวรรค) 37/286/237/286/2 37/237/2 |
108 | [๘๔] อสัทธรรม 7 ประการ คือ ผู้ไม่มีศรัทธา... มีปัญญาทราม. (พระสูตรที่ไม่สงเคราะห์เข้าในวรรค) 37/286/1637/286/16 37/237/14 |
109 | [๘๕-๘๖] บุคคล 7 จำพวก เป็นผู้ควรของคำนับ ฯลฯ เป็นนาบุญของโลก (พระสูตรที่ไม่สงเคราะห์เข้าในวรรค) 37/287/437/287/4 37/237/21 |
110 | [๘๗-๘๙] ธรรม 7 ประการ อันภิกษุพึงเจริญเพื่อรู้ยิ่งราคะ (พระสูตรที่ไม่สงเคราะห์เข้าในวรรค) 37/290/137/290/1 37/239/26 |
111 | [๙๑] เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติอันบุคคลเสพแล้ว เจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว พึงหวัง ได้อานิสงส์ 8 ประการ คือ หลับก็เป็นสุข... เมื่อแทงตลอดคุณธรรมที่สูงขึ้นไป ยังไม่ได้ ย่อมไปบังเกิดในพรหมโลก (เมตตสูตร) 37/292/1037/292/10 37/242/11 |
112 | พระราชาผู้ตั้งอยู่ในธรรมแต่โบราณ ทรงสงเคราะห์โลก ด้วยสังคหวัตถุ 4 นี้ (อ.เมตตสูตร) 37/295/1037/295/10 37/245/17 |
113 | [๙๒] เหตุ 8 ประการ ย่อมเป็นไปเพื่อได้ปัญญาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ . (ปัญญาสูตร) 37/298/237/298/2 37/247/15 |
114 | [๙๓] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 8 ประการ ย่อมไม่เป็นที่เคารพ ไม่เป็นที่สรรเสริญ ของเพื่อนพรหมจรรย์ มีความเป็นผู้สรรเสริญผู้ไม่เป็นที่รัก เป็นต้น (ปฐมอัปปิยสูตร) 37/304/237/304/2 37/253/3 |
115 | [๙๔] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 8 ประการ ย่อมไม่เป็นที่เคารพไม่เป็นที่สรรเสริญ ของเพื่อนพรหมจรรย์ มีความเป็นผู้มุ่งลาภ เป็นต้น. (ทุติยอัปปิยสูตร) 37/306/237/306/2 37/254/9 |
116 | [๙๕] โลกธรรม 8 ประการ ย่อมหมุนไปตามโลก และโลกย่อมหมุนไปตาม โลกธรรมนี้ คือ มีลาภ เสื่อมลาภ มียศ เสื่อมยศ นินทา สรรเสริญ สุข ทุกข์ (โลกธรรมสูตร) 37/308/237/308/2 37/255/14 |
117 | ชื่อว่า โลกธรรม เพราะเป็นธรรมของโลก ชื่อว่า คนผู้พ้นจากโลกธรรมเหล่านี้ ไม่มี โลกธรรมเหล่านี้ยังมีแม้แก่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย (อ.โลกธรรมสูตร) 37/309/237/309/2 37/256/13 |
118 | [๙๖] ข้อแตกต่าง ของปุถุชน และอริยสาวกที่ได้สดับ เมื่อถูกต้องโลกธรรม 8 ประการ (โลกวิปัตติสูตร) 37/310/237/310/2 37/257/13 |
119 | [๙๗] พระเทวทัตมีจิตอันอสัทธรรม 8 ประการ ครอบงำย่ำยีแล้ว ต้องไปบังเกิด ในอบายในนรกอยู่ชั่วกัป แก้ไขไม่ได้ (เทวทัตตสูตร) (เทวทัตตวิปัตติสูตร) 37/314/1137/314/11 37/260/10 |
120 | [๙๘] พระอุตตระ แสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลายอยู่ ท้าวเวสสวัณได้ยินแล้วไป บอกท้าวสักกะ ท้าวสักกะจึงเข้ามาถามพระอุตตระว่าเป็นปฏิภาณ ของท่าน หรือของพระพุทธเจ้า (อุตตรสูตร) 37/317/237/317/2 37/263/11 |
121 | [๙๙] พระนันทะ คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้ประมาณในโภชนะ ประกอบความเพียรเป็นเครื่องตื่นอยู่ มีสติสัมปชัญญะอันเป็นเหตุ ให้สามารถประพฤติ พรหมจรรย์ให้บริบูรณ์ได้ พึงเรียกท่านว่า กุลบุตร (นันทสูตร) 37/322/237/322/2 37/269/3 |
122 | [๑๐๐] พระพุทธองค์ให้ขับไล่พระขี้แกลบ " คนชนิดนี้ ต้องขับออกเป็นลูกนอกคอก กวนใจกระไร " (กรัณฑวสูตร) (การัณฑวสูตร) 37/326/737/326/7 37/272/7 |
123 | [๑๐๑] คำกล่าวหา หลายข้อต่อพระพุทธองค์ ที่เวรัญชพราหมณ์ถาม. (เวรัญชสูตร) 37/331/437/331/4 37/277/5 |
124 | [๑๐๑] ลูกไก่ตัวใดทำลายกะเปาะฟองไข่ ออกมาก่อน ควรเรียกว่าพี่ (เวรัญชสูตร) 37/335/337/335/3 37/280/9 |
125 | [๑๐๒] สีหเสนาบดี ชาวเวสาลีเป็นสาวกของนิครนถ์ มาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ได้ ฟังธรรมแล้วเป็นผู้เห็นธรรม บรรลุธรรมแล้ว รู้แจ้งธรรมแล้ว หยั่งซึ้งถึงธรรมแล้ว ข้ามพ้นความสงสัยได้แล้ว ปราศจากความเคลือบแคลงแล้ว ถึงความเป็นผู้ แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่น ในพระศาสนาของพระศาสดา. (สีหสูตร) 37/368/2037/368/20 37/306/16 |
126 | ในสมัยพุทธกาล เฉพาะราชบรรพชิต เช่น พระเจ้าภัททิยะ ผู้ละเศวตฉัตร ออกบวช มีจำนวนถึง 80,000 พระองค์ (อ.สีหสูตร) 37/372/937/372/9 37/309/10 |
127 | ในชมพูทวีป มีชน 3 คน ที่เป็นอัครอุปฐากของพวกนิครนถ์ คือ ในเมือง นาลันทา อุบาลีคหบดี ในเมืองกบิลพัสดุ์ วัปปศากยะ ในเมืองเวสาลี สีหเสนาบดี (อ.สีหสูตร) 37/373/337/373/3 37/309/24 |
128 | [๑๐๓] ทรงเปรียบองค์สมบัติ ของม้าอาชาไนยของ พระราชากับ ธรรม 8 ประการ ของภิกษุผู้เป็นนาบุญของโลก (อาชัญญสูตร) 37/384/237/384/2 37/319/3 |
129 | [๑๐๔] ทรงเปรียบภิกษุผู้โต้ตอบ การถูกโจทก์ด้วยอาบัติ กับม้าโกง 8 ประเภท .(ขฬุงคสูตร) (ขุฬุงกสูตร) 37/388/2137/388/21 37/323/4 |
130 | [๑๐๕] มลทิน 8 ประการ คือ มนตร์มีการไม่ท่องบ่นเป็นมลทิน.. อวิชชาเป็นมลทิน อย่างยิ่ง. (พลสูตร) 37/393/237/393/2 37/326/9 |
131 | [๑๐๖] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 8 ประการ ควรไปเป็นทูตได้ (ทูตสูตร) 37/395/237/395/2 37/327/16 |
132 | [๑๐๗-๑๐๘] หญิงและชายย่อมผูกใจกันไว้ได้ด้วยอาการ 8 อย่าง (สูตร 7-8) 37/397/237/397/2 37/329/11 |
133 | [๑๐๙] ความอัศจรรย์ ในพระธรรมวินัย 8 ประการ (ปหาราทสูตร) 37/402/637/402/6 37/333/14 |
134 | [๑๐๙] ในธรรมวินัยนี้ มีการศึกษาไปตามลำดับ และสาวกทั้งหลาย ก็ไม่ล่วง สิกขาบทที่พระพุทธองค์ บัญญัติไว้แม้เพราะเหตุแห่งชีวิต. (ปหาราทสูตร) 37/402/1137/402/11 37/333/18 |
135 | หัวหน้าอสูร มี 3 ท่าน คือ เวปจิตติ ราหู ปหาราทะ (อ.ปหาราทสูตร) 37/406/1537/406/15 37/337/4 |
136 | ต้นกำเนิดแม่น้ำ 5 สาย (อ.ปหาราทสูตร) 37/408/1037/408/10 37/338/15 |
137 | ภิกษุผู้ไม่กระทำให้บริบูรณ์ ในศีล เป็นต้น ตั้งแต่ต้นแล้วบรรลุพระอรหัตไม่มี . (อ.ปหาราทสูตร) 37/412/1637/412/16 37/341/25 |
138 | [๑๑๐] มิใช่ฐานะที่พระพุทธเจ้า จะแสดงปาติโมกข์ในบริษัทที่ไม่บริสุทธิ์ จึงทรง ให้ภิกษุแสดงปาติโมกข์กันเอง และทรงแสดงความอัศจรรย์ในธรรมวินัย 8 ประการประการ (อุโปสถสูตร) 37/414/237/414/2 37/342/12 |
139 | [๑๑๑] ธรรม 8 ประการ ของอุคคคฤหบดี ชาวเมืองเวสาลี (ปฐมอุคคสูตร) 37/420/337/420/3 37/348/4 |
140 | [๑๑๒] ธรรม 8 ประการของอุคคคฤหบดี ชาวบ้านหัตถีคาม เขาได้พบพระพุทธเจ้า ครั้งแรกขณะที่ตนกำลังเมาสุราอยู่ในสวน พร้อมกับการเห็นก็หายเมา (ทุติยอุคคสูตร) 37/426/237/426/2 37/353/9 |
141 | [๑๑๓] พระพุทธองค์สรรเสริญ หัตถกอุบาสกชาวเมืองอาฬวี ว่าประกอบด้วย ธรรม 7 ประการ มีความเป็นผู้มีศรัทธา เป็นต้น และทรงเพิ่มให้อีกข้อหนึ่ง คือ ความเป็นผู้ไม่ปรารถนาให้คนอื่นรู้กุศลธรรมที่มีอยู่ในตน (ปฐมหัตถกสูตร) 37/432/237/432/2 37/358/3 |
142 | [๑๑๔] หัตถกอุบาสกชาวเมือง อาฬวี สงเคราะห์บริษัทใหญ่ด้วย สังคหวัตถุ 4 (ทุติยหัตถกสูตร) 37/436/237/436/2 37/361/3 |
143 | [๑๑๕] บุคคล ถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ ชื่อว่า เป็น อุบาสก. (มหานามสูตร) 37/440/837/440/8 37/364/3 |
144 | [๑๑๕] เหตุที่อุบาสก ได้ชื่อว่า ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน ไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่น ที่ได้ชื่อว่า ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตนและผู้อื่น (มหานามสูตร) 37/440/1837/440/18 37/364/17 |
145 | [๑๑๖] หมอชีวกโกมารภัจจ์ ถามพระพุทธองค์ ถึงความเป็นอุบาสก ศีลของ อุบาสก และอุบาสกผู้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน อุบาสกผู้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน และผู้อื่น (ชีวกสูตร) 37/443/237/443/2 37/366/8 |
146 | [๑๑๗] กำลัง 8 ประการ คือ ทารกทั้งหลายมีการร้องไห้เป็นกำลัง... สมณพราหมณ์ทั้งหลายมีขันติเป็นกำลัง (ปฐมพลสูตร) 37/446/237/446/2 37/368/6 |
147 | [๑๑๘] พระสารีบุตรตอบคำถามพระพุทธองค์ ถึง กำลังของพระขีณาสพ 8 ประการ (ทุติยพลสูตร) 37/447/237/447/2 37/369/10 |
148 | [๑๑๙] สมัยที่มิใช่เพื่ออยู่ประพฤติพรหมจรรย์ 8 ประการ (อักขณสูตร) 37/451/237/451/2 37/372/14 |
149 | [๑๒๐] ทรงแสดงมหาปุริสวิตก 8 ประการ คือ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย... (อนุรุทธสูตร) 37/460/1837/460/18 37/380/23 |
150 | พระอนุรุทธะ บวชแล้ว ได้ทิพยจักษุ ภายในพรรษานั้นเอง. (อ.อนุรุทธสูตร) 37/466/137/466/1 37/384/20 |
151 | ผู้มักน้อย 4 จำพวก คือ มักน้อยในปัจจัย ในอธิคม ในปริยัติ ในธุดงค์ (อ.อนุรุทธสูตร) 37/467/337/467/3 37/385/20 |
152 | [๑๒๑] ทาน 8 ประการ คือ บางคนหวังได้จึงให้ทาน... ให้ทานเพื่อประดับปรุง แต่งจิต (ปฐมทานสูตร) 37/472/337/472/3 37/390/4 |
153 | การให้ทานเป็นเครื่องฝึกจิตที่ยังไม่ได้ฝึก การไม่ให้ทานเป็นเครื่องประทุษร้าย จิตที่ฝึกแล้ว ชนทั้งหลายมีจิตโอนอ่อน และน้อมลงด้วยปิยวาจานี้ (อ.ปฐมทานสูตร) 37/473/1637/473/16 37/391/20 |
154 | [๑๒๒] " ธรรม 3 ประการนี้ คือ การให้ทานด้วยศรัทธา การให้ทานด้วยหิริ การ ให้ทานอันหาโทษมิได้ เป็นไปตามสัปบุรุษ บัณฑิตกล่าวธรรม 3 ประการนี้ว่า เป็นทางไปสู่ไตรทิพย์ ชนทั้งหลายย่อมไปสู่เทวโลก ด้วยทางนี้แล (ทุติยทานสูตร) 37/474/237/474/2 37/392/3 |
155 | [๑๒๓] ทานวัตถุ 8 ประการ คือ บางคนให้ทานเพราะชอบพอกัน... ให้ทานเพื่อ ประดับปรุงแต่งจิต. (ทานวัตถุสูตร) 37/475/237/475/2 37/393/3 |
156 | [๑๒๔] ทานที่บุคคลให้ในสมณพราหมณ์ผู้ประกอบด้วยองค์ 8 ประการ ย่อมไม่ มีผลมาก ไม่มีอานิสงส์มาก. คือ สมณพราหมณ์ผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ... เป็นมิจฉาสมาธิ (เขตตสูตร) 37/476/1037/476/10 37/394/14 |
157 | [๑๒๕] ความปรารถนาของผู้มีศีลย่อม สำเร็จในเหตุเกิดขึ้นแห่งทาน 8 ประการ (ทานูปปัตติสูตร) 37/481/237/481/2 37/398/12 |
158 | จริงอยู่ เพียงทานเท่านั้นไม่สามารถจะบังเกิดในพรหมโลกได้ แต่ผู้มีจิตอ่อน ด้วยการให้ทาน เจริญพรหมวิหารย่อมบังเกิดในพรหมโลก (อ.ทานูปปัตติสูตร) 37/483/1637/483/16 37/401/4 |
159 | [๑๒๖] บุญกิริยาวัตถุ 3 ประการ คือ ทาน ศีล ภาวนา. (บุญกิริยาวัตถุสูตร) 37/484/237/484/2 37/401/10 |
160 | [๑๒๖] ผู้ให้ทานพอประมาณ รักษาศีล พอประมาณ ไม่เจริญภาวนาเลย เมื่อ ตายไปย่อมเป็นผู้มีส่วนดีในมนุษย์. (บุญกิริยาวัตถุสูตร) 37/484/937/484/9 37/401/16 |
161 | [๑๒๖] ผู้ให้ทาน และรักษาศีล ประมาณยิ่ง ไม่เจริญภาวนาเลย เมื่อตายไปย่อม เข้าถึงเทวดากามาวจร 6 ชั้น (บุญกิริยาวัตถุสูตร) 37/484/1337/484/13 37/401/20 |
162 | [๑๒๗] สัปปุริสทาน 8 ประการ คือ ให้ของสะอาด ให้ของประณีต ให้ตามกาล ให้ของสมควร เลือกให้ ให้เนืองนิตย์ เมื่อให้จิตผ่องใส ให้แล้วดีใจ. (ปฐมสัปปุริสสูตร) 37/488/237/488/2 37/405/3 |
163 | [๑๒๘] สัปบุรุษ เมื่อเกิดในตระกูลใดย่อมเป็นประโยชน์ แก่ชนอันมาก 8 จำพวก คือ มารดาบิดา... สมณพราหมณ์ (ทุติยสัปปุริสสูตร) 37/490/237/490/2 37/406/5 |
164 | [๑๒๙] ห้วงบุญห้วงกุศล 8 ประการ นำความสุขมาให้ เป็นไปเพื่อสวรรค์ คือ การถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะและการรักษาศีล 5 (ปุญญาภิสันทสูตร) 37/492/237/492/2 37/408/7 |
165 | [๑๒๙] มหาทาน 5 ประการ อันบัณฑิตพึงรู้ว่าเลิศ มีมานาน เป็นเชื้อสายแห่ง พระอริยะ (ปุญญาภิสันทสูตร) 37/492/1437/492/14 37/408/20 |
166 | [๑๓๐] เหตุที่ถูกใส่ความและถูกโกง (สัพพลหุสสูตร) 37/495/1637/495/16 37/411/15 |
167 | [๑๓๐] โทษอย่างเบาที่สุดของการดื่มสุราและเมรัย ย่อมถึงความเป็นบ้าเมื่อมา เกิดเป็นมนุษย์ (สัพพลหุสสูตร) 37/496/1137/496/11 37/412/7 |
168 | เหตุที่เด็กถูกทำแท้ง (อ.สัพพลหุสสูตร) 37/497/137/497/1 37/412/18 |
169 | [๑๓๑] อุโบสถที่ประกอบด้วยองค์ 8 ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก (สังขิตตสูตร) 37/499/837/499/8 37/415/9 |
170 | [๑๓๒] ประมาณอายุของเทวดาในสวรรค์ 6 ชั้น (วิตถตสูตร) 37/504/1437/504/14 37/419/23 |
171 | [๑๓๓] ทรงแสดงแก่นางวิสาขาถึง อุโบสถ ประกอบด้วยองค์ 8 ย่อมมีผลมาก และทรงแสดงอายุของเทวดาในสวรรค์ 6 ชั้น (วิสาขสูตร) 37/509/237/509/2 37/422/18 |
172 | [๑๓๔] ทรงแสดงแก่วาเสฏฐอุบาสก ถึงอุโบสถอันประกอบด้วยองค์ 8 บุคคลเข้า อยู่แล้ว ย่อมเข้าถึงสวรรค์ (วาเสฏฐสูตร) 37/513/237/513/2 37/427/3 |
173 | [๑๓๕] ทรงแสดงแก่โพชฌาอุบาสิกา ถึงอุโบสถอันประกอบด้วยองค์ 8 และทรง แสดงอายุของเทวดาในสวรรค์ 6 ชั้น (โพฃฌาสูตร) 37/516/237/516/2 37/429/14 |
174 | [๑๓๖] เทวดาชื่อว่า มนาปกายิกา มีอิสระ และอำนาจในฐานะ 3 ประการ คือ หวังวรรณะ เสียง สุข เช่นใดก็ได้เช่นนั้นโดยพลัน (อนุรุทธสูตร) 37/521/1437/521/14 37/434/15 |
175 | [๑๓๖] สตรีประกอบด้วยธรรม 8 ประการ เมื่อตายไปย่อมเข้าถึง เทวดาเหล่า มนาปกายิกา (อนุรุทธสูตร) 37/522/1637/522/16 37/435/11 |
176 | ดนตรีประกอบด้วยองค์ 5 (อ.อนุรุทธสูตร) 37/525/537/525/5 37/437/13 |
177 | [๑๓๗] นารีใดย่อมประพฤติตามความชอบใจของสามี อย่างนี้ นารีนั้นย่อมเข้า ถึงความเป็นเทวดาเหล่ามนาปกายิกา (วิสาขสูตร) (วิสาขาสูตร) 37/527/1837/527/18 37/439/9 |
178 | [๑๓๘] ทรงแสดงแก่ นกุลมารดา ถึงมาตุคาม ประกอบด้วยธรรม 8 ประการ เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงเทวดา เหล่ามนาปกายิกา (นกุลสูตร) 37/529/237/529/2 37/440/4 |
179 | [๑๓๙] ทรงแสดงแก่นางวิสาขา ถึงผู้หญิงที่ประกอบด้วยธรรม 4 ประการ ชื่อว่า ปฏิบัติเพื่อชัยชนะในโลกนี้ และถ้าประกอบด้วยธรรมอีก 4 ประการ ชื่อว่า ปฏิบัติเพื่อชัยชนะในโลกหน้า (ปฐมอิธโลกสูตร) 37/531/237/531/2 37/441/6 |
180 | [๑๔๐] มาตุคามประกอบด้วยธรรม 4 ประการ ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อชัยชนะใน โลกนี้ และมาตุคามประกอบด้วยธรรม 4 ประการ ชื่อว่า ปฏิบัติเพื่อชัยชนะ ใน โลกหน้า (ทุติยอิธโลกสูตร) 37/536/237/536/2 37/444/14 |
181 | [๑๔๑] ครุธรรม 8 ประการ ของนางภิกษุณี (โคตมีสูตร) 37/544/937/544/9 37/451/16 |
182 | [๑๔๑] พระสัทธรรมพึงดำรงอยู่ได้ 1,000 ปี แต่เพราะมาตุคามออกบวชในธรรม วินัยนี้ พระสัทธรรมก็จะดำรงอยู่เพียง 500 ปี (โคตมีสูตร) 37/546/1837/546/18 37/453/10 |
183 | พระปริยัติธรรม และปฏิเวธสัทธรรม จะดำรงอยู่ได้ 5,000 ปี (อ.โคตมีสูตร) 37/554/937/554/9 37/459/13 |
184 | [๑๔๒] ภิกษุประกอบด้วยธรรม 8 ประการ สงฆ์พึงสมมติให้เป็นผู้สอนนาง ภิกษุณี (โอวาทสูตร) 37/555/237/555/2 37/460/3 |
185 | [๑๔๓] พระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรี เสด็จเข้าเฝ้าขอโอวาท พระพุทธองค์ทรง แสดงถึงธรรมเหล่าใดที่เป็นไปเพื่อความกำหนัด เป็นต้น พึงจำไว้ว่า นี้ไม่ใช่ ธรรม ไม่ใช่วินัย ไม่ใช่คำสอนของพระศาสดา และพระนางบรรลุพระอรหัต ด้วยโอวาทนี้ (สังขิตตสูตร) 37/557/237/557/2 37/461/16 |
186 | [๑๔๔] ธรรม 4 ประการ ของผู้ครองเรือน เพื่อประโยชน์สุขในปัจจุบัน (ทีฆชาณุสูตร) 37/560/1337/560/13 37/464/5 |
187 | [๑๔๔] ทางเสื่อมแห่งโภคทรัพย์ 4 ประการ คือ เป็นนักเลงหญิง เป็นนักเลงสุรา เป็นนักเลงการพนัน มีมิตรชั่ว สหายชั่ว เพื่อนชั่ว (ทีฆชาณุสูตร) 37/562/1337/562/13 37/465/20 |
188 | [๑๔๔] ธรรม 4 ประการ ของผู้ครองเรือน เพื่อประโยชน์สุขในภายหน้า (ทีฆชาณุสูตร) 37/563/1337/563/13 37/466/14 |
189 | บัณฑิตบุคคลผู้ครองเรือน พึงแบ่งโภคทรัพย์ออกเป็น 4 ส่วน คือ ส่วนหนึ่ง ใช้สอย สองส่วนประกอบการงาน ส่วนที่ 4 เก็บไว้ ในเมื่อมีอันตราย (อ.ทีฆชาณุสูตร) 37/565/2037/565/20 37/468/11 |
190 | [๑๔๕] ทรงแสดงแก่อุชชยพราหมณ์ ถึงธรรมที่จะพึงเป็นไป เพื่อประโยชน์สุข ในปัจจุบัน และเพื่อประโยชน์สุขในภายหน้า (อุชชยสูตร) 37/567/237/567/2 37/469/13 |
191 | [๑๔๖] คำว่า ภัย ทุกข์ โรค หัวฝี ลูกศร ความข้อง เปือกตม การอยู่ในครรภ์ เป็นชื่อของกาม (ภยสูตร) 37/570/237/570/2 37/473/12 |
192 | [๑๔๗] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 8 ประการ เป็นผู้ควรของคำนับ ฯลฯ เป็นนา บุญของโลก. (ปฐมอาหุเนยยสูตร) 37/572/237/572/2 37/475/10 |
193 | [๑๔๘] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 8 ประการ เป็นผู้ควรของคำนับ ฯลฯ เป็นนาบุญ ของโลก มีความเป็นผู้ปรารภความเพียร เป็นผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร เป็นต้น. (ทุติยอาหุเนยยสูตร) 37/573/237/573/2 37/476/7 |
194 | [๑๔๙] " บุคคลผู้ปฏิบัติ 4 จำพวก ผู้ตั้งอยู่ในผล 4 จำพวก นี้เป็นสงฆ์ ผู้ปฏิบัติ ตรงมีปัญญา มีศีลและจิตมั่นคง ย่อมกระทำบุญของมนุษย์ผู้เพ่งบุญ บูชาอยู่ ให้มีผลมาก ทานที่ให้ในสงฆ์ ย่อมมีผลมาก " (ปฐมอัฏฐปุคคลสูตร) 37/574/1037/574/10 37/477/6 |
195 | [๑๕๐] " ผู้ปฏิบัติ 4 จำพวก ผู้ตั้งอยู่ในผล 4 จำพวก สงฆ์นี้ คือ บุคคล 8 จำพวก เป็น ผู้สูงสุดกว่าสัตว์ทั้งหลาย ย่อมกระทำบุญของมนุษย์ผู้เพ่งบุญบูชาอยู่ให้มีผลมาก ทานที่ให้ในสงฆ์นี้ย่อมมีผลมาก" (ทุติยอัฏฐปุคคลสูตร) 37/576/1037/576/10 37/478/18 |
196 | [๑๕๑] ภิกษุผู้มีความปรารถนาลาภ 8 จำพวก มีผู้ปรารถนาลาภ หมั่นเพียร พยายามเพื่อจะได้ลาภ แต่ไม่ได้ลาภ เศร้าโศก ร่ำไร และเคลื่อนจากสัทธรรม เป็นต้น. (อิจฉาสูตร) 37/578/337/578/3 37/480/4 |
197 | [๑๕๒] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 6 ประการ เป็นผู้สามารถในอันปฏิบัติเพื่อประโยชน์ เกื้อกูลแก่ทั้งตนและผู้อื่น มีความเป็นผู้เข้าใจได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นต้น .(ปฐมอลังสูตร) (อลังสูตร) 37/582/237/582/2 37/483/7 |
198 | [๑๕๓] ภิกษุประกอบด้วยธรรม 5 ประการ เป็นผู้สามารถในอันปฏิบัติเพื่อประโยชน์ เกื้อกูลแก่ทั้งตน และผู้อื่น มีความเป็นผู้ไม่เข้าใจเร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่ เป็นผู้ทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว เป็นต้น (ทุติยอลังสูตร) (อลังสูตร) 37/583/237/583/2 37/483/16 |
199 | [๑๕๔] ภิกษุประกอบด้วยธรรม 4 ประการ เป็นผู้สามารถในอันปฏิบัติเพื่อประโยชน์ เกื้อกูลแก่ตน แต่ไม่สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่น. (ตติยอลังสูตร) (อลังสูตร) 37/584/237/584/2 37/484/3 |
200 | [๑๕๕] ภิกษุประกอบด้วยธรรม 4 ประการ เป็นผู้สามารถในอันปฏิบัติเพื่อประโยชน์ เกื้อกูลแก่ผู้อื่น แต่ไม่สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน. (จตุตถอลังสูตร) (อลังสูตร) 37/585/237/585/2 37/484/13 |
201 | [๑๕๖] ภิกษุประกอบด้วยธรรม 3 ประการ เป็นผู้สามารถปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน แต่ไม่สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่น. (ปัญจมอลังสูตร) (อลังสูตร) 37/586/237/586/2 37/484/23 |
202 | [๑๕๗] ภิกษุประกอบด้วยธรรม 3 ประการ เป็นผู้สามารถปฏิบัติเพื่อประโยชน์ ผู้อื่นแต่ไม่สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน. (ฉัฏฐอลังสูตร) (อลังสูตร) 37/587/237/587/2 37/485/7 |
203 | [๑๕๘] ภิกษุประกอบด้วยธรรม 2 ประการ เป็นผู้สามารถปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน แต่ไม่สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่น. (สัตตมอลังสูตร) (อลังสูตร) 37/588/237/588/2 37/485/17 |
204 | [๑๕๙] ภิกษุประกอบด้วยธรรม 2 ประการ เป็นผู้สามารถปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่นแต่ไม่สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน. (อัฏฐมอลังสูตร) (อลังสูตร) 37/589/237/589/2 37/486/1 |
205 | ความว่า ภิกษุย่อมทรงจำได้เร็ว เมื่อเขากล่าวถึงขันธ์ ธาตุ และอายตนะ เป็นต้นย่อมรู้ธรรมเหล่านั้นได้ฉับพลัน (อ.อัฏฐมอลังสูตร) (อลังสูตร) 37/590/537/590/5 37/486/17 |
206 | [๑๖๐] พระพุทธองค์ทรงโอวาท ภิกษุรูปหนึ่ง ให้ทำจิตตั้งมั่นในภายใน และธรรม อันเป็นบาปอกุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ครอบงำจิตได้ เมื่อนั้น พึงศึกษาซึ่งเมตตา เจโตวิมุตติ เป็นต้น. เมื่อกระทำให้มากซึ่งสมาธิดีแล้ว ให้ศึกษาพิจารณาสติปัฏฐาน 4 เมื่อเจริญดีแล้ว จะไปทางไหน ไม่ว่า ยืน เดิน นั่ง นอน ย่อมเป็นสุข ในที่นั้น ๆ (สังขิตตสูตร) 37/591/237/591/2 37/487/3 |
207 | [๑๖๑] พระพุทธองค์ทรงเล่าถึง ก่อนแต่ตรัสรู้พระองค์ทรงจำได้ซึ่งโอภาส และทรง ทำความเพียรเพื่อญาณทัสสนะอันประเสริฐ เป็นลำดับตั้งแต่การได้เห็นรูป พูดคุยกับเทวดา และรู้รายละเอียดของเทวดา เป็นต้น. จนได้ญาณทัสสนะเกิด ขึ้นว่า เจโตวิมุตติไม่กำเริบ ชาตินี้มีในที่สุด บัดนี้ภพใหม่ต่อไปไม่มี. (คยาสูตร) 37/597/237/597/2 37/491/9 |
208 | [๑๖๒] เหตุเป็นเครื่องครอบงำ ธรรมอันเป็นข้าศึกบ้าง อารมณ์บ้าง 8 ประการ . (อภิภายตนสูตร) 37/601/237/601/2 37/494/13 |
209 | ภิกษุเมื่อกระทำบริกรรมนีลกสิณในภายใน ย่อมกระทำที่ผมก็ดี หรือที่ดวงตาก็ดี . (อ.อภิภายตนสูตร) 37/602/1837/602/18 37/496/2 |
210 | บริกรรมอันหนึ่งของภิกษุใด เกิดขึ้นในภายใน แต่นิมิตเกิดภายนอก ชื่อว่า กำหนดรูปภายใน ด้วยอำนาจบริกรรมภายใน และอัปปนาภายนอก. (อ.อภิภายตนสูตร) 37/603/537/603/5 37/496/10 |
211 | บริกรรมก็ดี นิมิตก็ดี ของผู้ใดเกิดในภายนอก ผู้นั้นมีความกำหนดอรูปภายใน ด้วยอำนาจบริกรรม และอัปปนาในภายนอก (อ.อภิภายตนสูตร) 37/604/1537/604/15 37/496/11 |
212 | ปริตตารมณ์ เหมาะกับวิตกจริต , อัปปมาณารมณ์ เหมาะกับโมหจริต, อารมณ์ ที่มีพรรณะดี เหมาะกับโทสจริต , อารมณ์ที่มีพรรณะทราม เหมาะกับราคจริต. (อ.อภิภายตนสูตร) 37/604/2037/604/20 37/497/20 |
213 | [๑๖๓] วิโมกข์ (ความหลุดพ้น) 8 ประการ (วิโมกขสูตร) 37/606/237/606/2 37/498/15 |
214 | ชื่อว่า วิโมกข์ เพราะสภาวะที่พ้นยิ่ง ด้วยดีจากธรรมอันเป็นข้าศึก และสภาวะ ที่พ้นยิ่งด้วยดี จากอำนาจความยินดียิ่งในอารมณ์ (อ.วิโมกขสูตร) 37/607/337/607/3 37/499/11 |
215 | ชื่อว่า เป็นผู้น้อมใจไปว่างาม นั้น เพราะ เจริญพรหมวิหาร 4 (อ.วิโมกขสูตร) 37/608/737/608/7 37/500/13 |
216 | [๑๖๔] อนริยโวหาร (ถ้อยคำที่ไม่ใช่ของพระอริยะ) 8 ประการ มีความเป็นผู้พูดใน สิ่งไม่ได้เห็นว่าได้เห็น เป็นต้น. (ปฐมโวหารสูตร) 37/609/237/609/2 37/501/3 |
217 | [๑๖๕] อริยโวหาร (ถ้อยคำของพระอริยะ) 8 ประการ มีความเป็นผู้พูดในสิ่งที่ ไม่ได้เห็นว่าไม่ได้เห็น เป็นต้น (ทุติยโวหารสูตร) 37/610/237/610/2 37/502/3 |
218 | [๑๖๖] บริษัท 8 จำพวก ที่พระพุทธองค์ เคยนั่งประชุมด้วย เคยสนทนาปราศรัย ด้วยเคยสทนาธรรมด้วย (ปริสาสูตร) (ปริสสูตร) 37/611/237/611/2 37/503/3 |
219 | พระพุทธเจ้าเสด็จไป แสดงธรรมในจักรวาลอื่น เพื่อเป็นนิสัยวาสนาในอนาคต แก่เขา (อ.ปริสสูตร) (ปริสาสูตร) 37/612/1337/612/13 37/504/9 |
220 | [๑๖๗] มารดลใจพระอานนท์ (ภูมิจาลสูตร) 37/615/1937/615/19 37/507/14 |
221 | [๑๖๗] พระพุทธเจ้าทรงปลง อายุสังขาร ณ ปาวาลเจดีย์ เมืองเวสาลี (ภูมิจาลสูตร) 37/618/437/618/4 37/509/8 |
222 | [๑๖๗] เหตุเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ 8 ประการ (ภูมิจาลสูตร) 37/619/337/619/3 37/510/1 |
223 | อายุกัป คือ กำหนดอายุอย่างสูงของคนในยุคนั้นๆ (อ.ภูมิจาลสูตร) 37/621/1337/621/13 37/511/21 |
224 | มารครอบงำจิต ได้อย่างไร. (อ.ภูมิจาลสูตร) 37/622/1637/622/16 37/513/1 |
225 | ชื่อว่ามาร เพราะประกอบสัตว์ไว้ในความพินาศให้ตายไป (อ.ภูมิจาลสูตร) 37/623/737/623/7 37/513/14 |
226 | ในสมัยปรินิพพาน เทวดาประจำแผ่นดินอาดูรด้วยแรงการร้องห่มร้องไห้ แผ่นดิน จึงไหว (อ.ภูมิจาลสูตร) 37/629/637/629/6 37/518/19 |
227 | [๑๖๘] ภิกษุเมื่อยังไม่บริบูรณ์ ด้วยองค์ประกอบใด พึงบำเพ็ญองค์ประกอบนั้น ให้บริบูรณ์ และภิกษุใดประกอบด้วยองค์ 8 ประการ ย่อมเป็นผู้ก่อให้เกิดความ เลื่อมใสโดยรอบ และเป็นผู้บริบูรณ์ด้วยอาการทั้งปวง. (ปฐมปฏิปทาสูตร) 37/630/337/630/3 37/520/4 |
228 | [๑๖๙] ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 8 ประการ เป็นผู้ก่อให้เกิดความเลื่อมใส โดยรอบและเป็นผู้บริบูรณ์ ด้วยอาการทั้งปวง (ทุติยปฏิปทาสูตร) 37/633/237/633/2 37/522/12 |
229 | [๑๗๐] พระพุทธองค์สรรเสริญภิกษุผู้เจริญมรณสติ ชั่วเวลาเคี้ยวข้าวคำหนึ่ง และชั่วเวลาหายใจเข้า ออก (ตติยปฏิปทาสูตร) 37/635/237/635/2 37/524/3 |
230 | [๑๗๑] มรณสติ อันภิกษุเจริญแล้ว การทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์ มากหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด (จตุตถปฏิปทาสูตร) 37/641/237/641/2 37/528/9 |
231 | [๑๗๒] สัมปทา(ความถึงพร้อม) 8 ประการ มีความถึงพร้อมด้วยความหมั่น เป็นต้น ย่อมนำสุขมาให้ในโลกทั้งสอง (ปัญจมปฏิปทาสูตร) 37/644/237/644/2 37/531/5 |
232 | [๑๗๓] ธรรม 8 ประการ ของผู้ครองเรือน มีเลี้ยงชีพด้วยความหมั่น เป็นต้น พระพุทธเจ้า ตรัสว่า นำสุขมาให้ทั้งปัจจุบัน และในภายหน้า (ฉัฏฐปฏิปทาสูตร) 37/645/237/645/2 37/532/3 |
233 | [๑๗๔] พระสารีบุตร แสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ถึงภิกษุที่ชอบสงัด ไม่เจริญกรรมฐาน ให้ติดต่อเนื่องกันไป ย่อมเกิดความปรารถนาเพื่อได้ลาภ 8 จำพวก. (อิจฉาสูตร) 37/679/237/679/2 37/535/3 |
234 | [๑๗๕] พระสารีบุตรแสดง ถึงภิกษุประกอบด้วยธรรม 6 ประการ เป็นผู้สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน และผู้อื่น (ปฐมลัจฉาสูตร) (ลัจฉาสูตร) 37/652/537/652/5 37/537/12 |
235 | [๑๗๖] พระสารีบุตร แสดงถึงภิกษุประกอบด้วยธรรม 5 ประการ เป็นผู้สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน และผู้อื่น. (ทุติยลัจฉาสูตร) (ลัจฉาสูตร) 37/653/237/653/2 37/538/2 |
236 | [๑๗๗] พระสารีบุตรแสดงถึงภิกษุประกอบด้วยธรรม 4 ประการ เป็นผู้สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน แต่ไม่สามารถปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่น (ตติยลัจฉาสูตร) (ลัจฉาสูตร) 37/654/237/654/2 37/538/12 |
237 | [๑๗๘] พระสารีบุตรแสดงถึงภิกษุประกอบด้วยธรรม 4 ประการ เป็นผู้สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่น แต่ไม่สามารถปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน (จตุตถลัจฉาสูตร) (ลัจฉาสูตร) 37/655/237/655/2 37/538/22 |
238 | [๑๗๙] พระสารีบุตรแสดงถึงภิกษุประกอบด้วยธรรม 3 ประการ เป็นผู้สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน แต่ไม่สามารถปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่น (ปัญจมลัจฉาสูตร) (ลัจฉาสูตร) 37/656/237/656/2 37/539/6 |
239 | [๑๘๐] พระสารีบุตรแสดงถึงภิกษุประกอบด้วยธรรม 3 ประการ เป็นผู้สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่น แต่ไม่สามารถปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน (ฉัฏฐลัจฉาสูตร) (ลัจฉาสูตร) 37/657/237/657/2 37/539/16 |
240 | [๑๘๑] พระสารีบุตรแสดงถึงภิกษุประกอบด้วยธรรม 2 ประการ เป็นผู้สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน แต่ไม่สามารถปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่น (สัตตมลัจฉาสูตร) (ลัจฉาสูตร) 37/658/237/658/2 37/539/26 |
241 | [๑๘๒] พระสารีบุตรแสดงถึงภิกษุประกอบด้วยธรรม 2 ประการ เป็นผู้สามารถ ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่น แต่ไม่สามารถปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน (อัฏฐมลัจฉาสูตร) (ลัจฉาสูตร) 37/659/237/659/2 37/540/10 |
242 | [๑๘๓] ธรรม 8 ประการ ย่อมเป็นไปเพื่อความเสื่อมแก่ พระเสขะ มีความเป็นผู้ ยินดีการงาน เป็นต้น (ปริหานสูตร) 37/660/237/660/2 37/541/3 |
243 | [๑๘๔] ธรรม 8 ประการ ย่อมเป็นไปเพื่อความไม่เสื่อมแก่ พระเสขะ มีความเป็น ผู้ไม่ยินดีการงาน เป็นต้น (อปริหานสูตร) (ปริหานสูตร) 37/661/237/661/2 37/541/11 |
244 | [๑๘๕] กุสีตวัตถุ (เหตุแห่งความเกียจคร้าน) 8 ประการ (กุสีตวัตถุสูตร) (กุสีตารัพภวัตถุสูตร) 37/662/237/662/2 37/542/8 |
245 | [๑๘๖] อารัพภวัตถุ (เหตุแห่งความเพียร) 8 ประการ (อารัพภสูตร) (กุสีตารัพภวัตถุสูตร) 37/665/237/665/2 37/544/6 |
246 | [๑๘๗] เมื่อสติสัมปชัญญะไม่มี หิริและโอตตัปปะ ชื่อว่า มีเหตุอันบุคคลผู้มีสติ สัมปชัญญะ วิบัติกำจัดเสียแล้ว (สติสูตร) 37/669/337/669/3 37/548/3 |
247 | [๑๘๘] เหตุที่บางครั้ง พระธรรมเทศนาไม่แจ่มแจ้งแก่พระตถาคต (ปุณณิยสูตร) 37/671/437/671/4 37/550/10 |
248 | [๑๘๙] ธรรมทั้งปวงมีฉันทะเป็นมูล มีมนสิการเป็นแดนเกิด มีผัสสะเป็นสมุทัย มีเวทนาเป็นที่ประชุมลง มีสมาธิเป็นประมุข มีสติเป็นใหญ่ มีปัญญาเป็นยิ่งมีวิมุตติเป็นแก่น (มูลสูตร) 37/675/137/675/1 37/553/10 |
249 | [๑๙๐] มหาโจรประกอบด้วยองค์ 8 ประการ ย่อมเสื่อมเร็วพลัน มีประหารคนที่ ไม่ประหารตอบ เป็นต้น. (โจรสูตร) 37/676/237/676/2 37/554/14 |
250 | [๑๙๒] คำว่า สมณะ พราหมณ์ ผู้ถึงเวท ศัลยแพทย์ ไม่มีมลทิน ผู้ปราศจาก มลทิน ผู้มีญาณ ผู้หลุดพ้น เป็นชื่อของพระตถาคต อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า. (สมณสูตร) 37/678/237/678/2 37/556/3 |
251 | [๑๙๓] พระพุทธองค์ พอใจที่เห็นภิกษุแม้นั่งโงกง่วงไม่เป็นสมาธิอยู่ในป่า (ยสสูตร) 37/683/1137/683/11 37/560/10 |
252 | [๑๙๔] สงฆ์หวังอยู่พึงคว่ำบาตร อุบาสกผู้ประกอบด้วยองค์ 8 ประการ (ปัตตสูตร) 37/685/237/685/2 37/562/3 |
253 | [๑๙๖] อุบาสก พึงประกาศความไม่เลื่อมใสต่อภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ 8 ประการ (อัปปสาทสูตร) 37/687/237/687/2 37/563/12 |
254 | เมื่อจะประกาศความไม่เลื่อมใส จะต้องทำดังนี้ คือ ไม่ลุกจากอาสนะที่ตนนั่ง ไม่ไหว้ ไม่ออกไปทำการต้อนรับ ไม่ถวายอาหารหรือสิ่งของใดๆ (อ.อัปปสาทสูตร) 37/688/437/688/4 37/564/11 |
255 | [๑๙๘] สงฆ์หวังอยู่ พึงกระทำปฏิสารณียกรรม (กรรมที่สงฆ์สั่งให้ภิกษุไปขอขมา คฤหัสถ์) แก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ 8 ประการ (ปฏิสารณียสูตร) 37/689/237/689/2 37/565/3 |
256 | [๒๐๐] ภิกษุผู้ถูกสงฆ์ลง ตัสสปาปิยสิกากรรม (กรรมอันสงฆ์พึงทำเพราะความที่ ภิกษุนั้นเป็นผู้เลวทราม) ต้องประพฤติชอบ 8 ประการ (วัตตสูตร) (วัตตติสูตร) 37/691/237/691/2 37/566/11 |
257 | [๒๐๑-๒๐๓] ภิกษุพึงเจริญธรรม 8 ประการ เพื่อความรู้ยิ่งซึ่งราคะ (สามัญญวรรคที่ ๕) 37/693/1037/693/10 37/569/8 |
258 | [๒๐๕] ภิกษุพึงตั้งอยู่ในธรรม 5 ประการ มีความเป็นผู้มีมิตรดี เป็นต้น แล้วพึง เจริญธรรม 4 ประการ ให้ยิ่งขึ้นไป คือ เจริญอสุภะเพื่อละราคะ เจริญเมตตา เพื่อละความพยาบาท เจริญอานาปานสติเพื่อเข้าไปตัดวิตก เจริญอนิจจสัญญา เพื่อถอน อัสมิมานะ (การถือตัวว่าเป็นเรา) (สัมโพธิสูตร) 37/698/137/698/1 37/573/3 |
259 | [๒๐๕] อนัตตสัญญาย่อมปรากฏแก่ภิกษุผู้ได้อนิจจสัญญา ผู้ที่ได้อนัตตสัญญา ย่อมบรรลุนิพพาน (สัมโพธิสูตร) 37/699/2137/699/21 37/574/14 |
260 | ในลักษณะสาม คือ ทุกขลักษณะ อนิจจลักขณะ อนัตตลักขณะ เมื่อเห็น ลักษณะหนึ่งแล้ว สองลักษณะ นอกนี้ก็ได้เห็นแล้วเหมือนกัน. (อ.สัมโพธิสูตร) 37/702/237/702/2 37/576/18 |
261 | [๒๐๖] ถ้าภิกษุอาศัย ศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปัญญาแล้วละอกุศล เจริญกุศลแล้วพึงอบรมอุปนิสัย 4 ประการ คือพิจารณาแล้วเสพของอย่างหนึ่ง อดกลั้น ของอย่างหนึ่ง เว้นของอย่างหนึ่ง บรรเทาของอย่างหนึ่ง ด้วยเหตุนี้ภิกษุจึงชื่อ ว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยที่อาศัย (นิสสยสูตร) 37/703/337/703/3 37/577/3 |
262 | [๒๐๗] พระเมฆิยะ ขอพระพุทธเจ้าไปทำความเพียร ครั้นแล้ว ถูกอกุศลวิตก ครอบงำจึงกลับมาถามพระพุทธองค์ พระองค์ทรงแสดงธรรม 5 ประการ มี ความเป็นผู้มีมิตรดี เป็นต้น เพื่อความแก่กล้าแห่งเจโตวิมุตติ แล้วพึงเจริญธรรม 4 ประการให้ยิ่งขึ้น มีเจริญอสุภะเพื่อละราคะ เป็นต้น. (เมฆิยสูตร) 37/705/337/705/3 37/579/3 |
263 | พระเมฆิยะ ไปทำความเพียรในที่ที่เป็นอุทยาน ครั้งที่ท่านเคยเป็นพระราชา มาตลอด 500 ชาติ ตามลำดับในกาลก่อนด้วยความคุ้นเคย ทำให้อกุศลวิตก เกิดขึ้นแก่ท่าน (อ.เมฆิยสูตร) 37/711/637/711/6 37/584/7 |
264 | [๒๐๘] พระพุทธองค์ยืนอยู่หน้าอุปัฏฐานศาลา รอฟังจนพระนันทกะแสดงธรรม จบแล้วตรัสชมและบอกว่า เมื่อภิกษุประชุมกันพึงทำกิจ 2 อย่าง คือ ธรรมีกถา หรือ ดุษณีภาพของพระอริยะ (นันทกสูตร) 37/713/337/713/3 37/585/5 |
265 | [๒๐๘] ภิกษุพึงเป็นผู้บริบูรณ์ด้วยองค์ 4 คือ เป็นผู้มีศรัทธา มีศีล ได้เจโตสมาธิ ในภายใน และได้เห็นแจ้งธรรมด้วยปัญญาอันยิ่ง (นันทกสูตร) 37/714/537/714/5 37/586/5 |
266 | [๒๐๘] อานิสงส์ในการฟังธรรมตามกาล ในการสนทนาธรรมตามกาล 5 ประการ (นันทกสูตร) 37/716/137/716/1 37/587/20 |
267 | [๒๐๙] กำลัง 4 ประการ คือ ปัญญา ความเพียร การงานอันไม่มีโทษ การสงเคราะห์ (พลสูตร) 37/721/337/721/3 37/592/3 |
268 | [๒๐๙] พระโสดาบันมีตนเสมอกับพระโสดาบัน พระอรหันต์มีตนเสมอกับ พระอรหันต์ (พลสูตร) 37/722/1837/722/18 37/593/12 |
269 | [๒๐๙] อริยสาวกผู้ประกอบด้วยกำลัง 4 ประการ ย่อมก้าวล่วงภัย 5 ประการ ได้ (พลสูตร) 37/723/137/723/1 37/593/16 |
270 | [๒๑๐] เมื่อคบบุคคลใดแล้ว อกุศลธรรมเจริญ กุศลธรรมเสื่อม ครั้นรู้เวลาไหน ควรไปตอนนั้น ไม่ต้องลา เมื่อคบบุคคลใดแล้ว กุศลธรรมเจริญ อกุศลธรรม เสื่อม แม้ถูกขับไล่ก็พึงติดตามบุคคลนั้นไปตลอดชีวิต. (เสวนาสูตร) 37/725/437/725/4 37/596/4 |
271 | [๒๑๐] แม้หมู่บ้าน ชนบทหรือประเทศใด เมื่ออาศัยอยู่แล้ว อกุศลธรรมเจริญ กุศลธรรมเสื่อม ภิกษุไม่ควรอยู่ (เสวนาสูตร) 37/728/137/728/1 37/598/11 |
272 | [๒๑๑] ฐานะ 9 ประการ ที่พระอรหันต์ ไม่ควรล่วงละเมิด. (สุตวาสูตร) 37/731/337/731/3 37/600/22 |
273 | [๒๑๒] พระอรหันต์ไม่ใช่ฐานะที่กล่าวคืนสิกขา (สึก) (สัชฌสูตร) 37/734/637/734/6 37/603/9 |
274 | [๒๑๓] บุคคล 9 จำพวก มีอยู่ในโลก คือ พระอรหันต์... ปุถุชน (ปุคคลสูตร) 37/735/337/735/3 37/604/3 |
275 | [๒๑๔] บุคคล 9 จำพวก เป็นผู้ควรของคำนับ ฯลฯ เป็นนาบุญของโลก คือ พระอรหันต์.... โคตรภูบุคคล (อาหุเนยยสูตร) 37/736/337/736/3 37/605/3 |
276 | โคตรภูบุคคล ได้แก่ เป็นผู้ประกอบด้วยวิปัสสนาจิตที่มีกำลังถึงที่สุด โดย อนันตรปัจจัยแห่งโสดาปัตติมรรค (อ.อาหุเนยยสูตร) 37/736/1637/736/16 37/605/15 |
277 | [๒๑๕] ภิกษุรูปหนึ่งกล่าวตู่พระสารีบุตร ต่อพระพุทธเจ้าว่า พระเถระกระทบตน แล้วไม่ขอโทษ พระองค์ให้เรียกพระเถระกลับมา พระเถระแสดงซึ่งกายคตาสติ ที่ตนฝึกดีแล้ว มีใจเสมอด้วยแผ่นดิน น้ำ ไฟ ลม ผ้าเช็ดธุลี เป็นต้น ครั้นแล้ว ภิกษุนั้นกราบขอขมาต่อพระพุทธองค์ พระองค์ให้พระเถระอดโทษให้ภิกษุนั้น มิฉะนั้นศีรษะของภิกษุนั้นจะแตกเป็น 7 เสี่ยง (วุฏฐิสูตร) (วุตถสูตร) 37/738/437/738/4 37/607/4 |
278 | [๒๑๖] ทรงแสดง สอุปาทิเสสบุคคล (ผู้ยังมีการยึดมั่นเหลืออยู่) 9 จำพวก เมื่อ ตายแล้ว พ้นจากนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน เปรต อบาย ทุคติ วินิบาต (สอุปาทิเสสสูตร) 37/750/1937/750/19 37/617/10 |
279 | คูถแม้น้อยย่อมมีกลิ่นเหม็น ฉันใด พระพุทธองค์เปรียบภพแม้ชั่วลัดนิ้วมือ ก็ ฉันนั้นเมือนกัน (อ.สอุปาทิเสสสูตร) 37/754/637/754/6 37/620/3 |
280 | [๒๑๗] บุคคลอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในพระพุทธเจ้า เพื่อรู้ เพื่อเห็น เพื่อบรรลุ เพื่อกระทำให้แจ้ง เพื่อตรัสรู้อริยสัจ 4 (โกฏฐิตสูตร) 37/759/137/759/1 37/623/16 |
281 | [๒๑๘] พระสารีบุตร ถามพระสมิทธิเกี่ยวกับวิตก พระสมิทธิ ตอบว่า วิตกอัน เป็นความดำริของบุรุษ มีนามรูป เป็นอารมณ์ มีธาตุต่างกัน มีผัสสะเป็นสมุทัย มีเวทนาเป็นที่ประชุม มีสมาธิเป็นประมุข มีสติเป็นใหญ่ มีปัญญาเป็นยิ่ง มีวิมุตติเป็นแก่น มีอมตะเป็นที่หยั่งลงและพระสารีบุตรก็กำชับว่า อย่าทะนงตน ด้วยการแก้ปัญหานั้น. (มิทธิสูตร) 37/761/337/761/3 37/624/17 |
282 | [๒๑๙] ฝี เป็นชื่อของ กาย อันประกอบด้วย มหาภูตรูป 4 มีพ่อแม่เป็นแดนเกิด มีปากแผล 9 แห่ง สิ่งใดสิ่งหนึ่งย่อมไหลออกจากปากแผลนั้น เป็นของไม่สะอาด มีกลิ่นเหม็น น่าเกลียด เพราะเหตุนั้น จงเบื่อหน่ายในกายนี้ (คัณฑสูตร) 37/765/337/765/3 37/628/3 |
283 | [๒๒๐] สัญญา 9 ประการ มีอสุภสัญญา เป็นต้น อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้ มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด. (สัญญาสูตร) 37/767/337/767/3 37/630/3 |
284 | [๒๒๑] ตระกูลประกอบด้วยองค์ 9 ประการ ภิกษุไม่ควรเข้า หรือเข้าไปแล้วก็ ไม่ควรนั่ง คือ ไม่ต้อนรับด้วยความพอใจ... ไม่ยินดีภาษิตของภิกษุนั้น (กุลสูตร) 37/768/337/768/3 37/631/3 |
285 | [๒๒๒] อุโบสถประกอบด้วยองค์ 9 ประการ อันบุคคลเข้าอยู่แล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก (สัตตสูตร) 37/770/337/770/3 37/632/15 |
286 | [๒๒๓] เทวดาเป็นอันมาก มากล่าวต่อพระพุทธองค์ ถึงผลแห่งการต้อนรับบรรพชิตมีการลุกรับ แต่ไม่กราบไหว้ เป็นต้น เมื่อคราวตนเป็นมนุษย์ จึงมีความกินแหนงเดือดร้อนใจ ตามในภายหลัง เข้าถึงหมู่เทวดาชั้นเลว (เทวตาสูตร) 37/772/337/772/3 37/634/8 |
287 | [๒๒๔] สาเหตุที่ผู้มีฐานะดี แต่ไม่ชอบใช้ของดีๆ และบริวารก็ไม่เชื่อฟัง (เวลามสูตร) 37/775/1237/775/12 37/637/1 |
288 | [๒๒๔] แม้ให้ทานด้วยของเศร้าหมอง แต่ให้ด้วยความเคารพ เมื่อเกิดในตระกูล ใดย่อมใช้ของดีๆ และบริวารชน ก็เชื่อฟัง (เวลามสูตร) 37/776/137/776/1 37/637/10 |
289 | [๒๒๔] ทานที่ให้ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ ผู้เดียวบริโภค มีผลมากกว่าทานที่เวลาม พราหมณ์ให้แล้ว (เวลามสูตร) 37/777/737/777/7 37/639/10 |
290 | [๒๒๔] การที่บุคคลมีจิตเลื่อมใส ถึง พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็น สรณะมีผลมากกว่าวิหารทาน (เวลามสูตร) 37/778/1137/778/11 37/639/24 |
291 | [๒๒๔] บุคคลเจริญอนิจจสัญญาแม้เพียงเวลาลัดนิ้วมือ มีผลมากกว่า การ เจริญเมตตาจิต (เวลามสูตร) 37/779/137/779/1 37/640/7 |
292 | เรื่องย่อ ของเวลามพราหมณ์ (อ.เวลามสูตร) 37/781/937/781/9 37/642/11 |
293 | ทานที่เป็นบาป (อ.เวลามสูตร) 37/785/1937/785/19 37/645/26 |
294 | วิหารทาน บิณฑบาต สิกขา การเจริญเมตตา ย่อมไม่ถึงเสี้ยวที่ 16 ของ ท่านผู้พิจารณาโดยความสิ้นไป (อ.เวลามสูตร) 37/788/1537/788/15 37/648/11 |
295 | [๒๒๕] มนุษย์ชาวชมพูทวีป ประเสริฐกว่า มนุษย์ชาวอุตตรกุรุทวีป และเทวาชั้น ดาวดึงส์ ด้วยฐานะ 3 ประการ คือ เป็นผู้กล้า เป็นผู้มีสติ เป็นผู้อยู่ประพฤติ พรหมจรรย์อันเยี่ยม. (ฐานสูตร) 37/790/1637/790/16 37/649/15 |
296 | ชาวอุตตรกุรุทวีปมีอายุ 1,000 ปีเท่ากันหมด เมื่อตายแล้วย่อมเกิดในสวรรค์ เท่านั้น (อ.ฐานสูตร) 37/791/1137/791/11 37/650/9 |
297 | [๒๒๖] ทรงเปรียบม้ากระจอก 3 ประเภท กับคนกระจอก 3 ประเภท. (ขฬุงคสูตร) (ขฬุงกสูตร) 37/792/737/792/7 37/651/7 |
298 | [๒๒๖] ทรงเปรียบม้าดี 3 ประเภท กับคนดี 3 ประเภท (ขฬุงคสูตร) (ขฬุงกสูตร) 37/794/437/794/4 37/652/19 |
299 | [๒๒๖] ทรงเปรียบม้าอาชาไนยตัวเจริญ 3 ประการ กับบุรุษอาชาไนย 3 ประการ .(ขฬุงคสูตร) (ขฬุงกสูตร) 37/795/337/795/3 37/653/17 |
300 | [๒๒๗]ธรรมอันมีตัณหาเป็นมูล 9 ประการ มีการแสวงหา เพราะอาศัยตัณหา เป็นต้น (ตัณหาสูตร) 37/798/337/798/3 37/656/3 |
301 | วินิจฉัย (การไตร่ตรอง) มี 4 อย่าง คือ ญาณวินิจฉัย ตัณหาวินิจฉัย ทิฏฐิวินัจฉัย วิตักกวินิจฉัย. (อ.ตัณหาสูตรสูตร) 37/799/737/799/7 37/657/5 |
302 | คำว่า ตระหนี่ ได้แก่ ทนต่อความเป็นของทั่วไปแก่ผู้อื่นไม่ได้. (อ.ตัณหาสูตรสูตร) 37/800/237/800/2 37/658/1 |
303 | [๒๒๘] สัตตาวาส(ที่อยู่ของสัตว์ทั้งหลาย) 9 ชั้น มีสัตว์พวกกายต่างกัน มีสัญญา ต่างกัน เหมือนมนุษย์ เทวดาบางพวกและวินิปาติกสัตว์บางพวก เป็นต้น. (ววัตถสัญญาสูตร) 37/801/337/801/3 37/658/19 |
304 | เมื่อพระพุทธเจ้า มิได้ทรงอุบัติตลอดอสงไขยกัป ชั้นสุทธาวาส ก็ว่างเปล่า (อ.ววัตถสัญญาสูตร) 37/802/1437/802/14 37/660/4 |
305 | [๒๒๙] ในกาลใด ภิกษุอบรมจิตให้ดีด้วยปัญญา ในกาลนั้น ควรเรียกภิกษุนั้น ว่าย่อมรู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำเสร็จแล้ว กิจอื่น เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. (สิลายูปสูตร) (ปฐมสิลายูปสูตร) 37/803/337/803/3 37/660/13 |
306 | [๒๓๐] ภิกษุอบรมจิตให้ดีด้วยจิตอย่างไร ? (ทุติยสิลายูปสูตร) 37/806/1837/806/18 37/663/23 |
307 | [๒๓๑-๒๓๒] ในกาลใด อริยสาวกระงับภัยเวร 5 ประการ และประกอบด้วยองค์คุณ เครื่องบรรลุโสดาบัน 4 ประการ ในกาลนั้น พึงพยากรณ์ตนเองได้ว่า เป็นผู้มี นรกสิ้นแล้ว เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า ( ๗. ปฐมเวรสูตร (ปฐมเถรสูตร) - ๘. ทุติยเวรสูตร (ทุติยเถรสูตร)) 37/810/337/810/3 37/666/6 |
308 | [๒๓๓] เหตุแห่งความอาฆาต 9 ประการ (ปฐมอาฆาตสูตร) 37/816/337/816/3 37/671/3 |
309 | [๒๓๔] เครื่องกำจัดความอาฆาต 9 ประการ (ทุติยอาฆาตสูตร) 37/817/337/817/3 37/672/3 |
310 | [๒๓๕] อนุปุพพนิโรธ (ความดับไปตามลำดับ) 9 ประการ มีอามิสสัญญาของผู้ เข้าปฐมฌานย่อมดับไป เป็นต้น. (อนุปุพพนิโรธสูตร) 37/820/337/820/3 37/674/3 |
311 | [๒๓๖] อนุปุพพวิหาร (ธรรมเป็นเครื่องอยู่ตามลำดับ) 9 ประการ คือ ปฐมฌาน... สัญญาเวทยิตนิโรธ (ปฐมวิหารสูตร) 37/822/437/822/4 37/676/4 |
312 | [๒๓๗] อนุปุพพวิหารสมาบัติ 9 ประการ (ทุติยวิหารสูตร) 37/823/337/823/3 37/677/3 |
313 | [๒๓๘] สัญญามนสิการอันประกอบด้วย กามย่อมฟุ้งซ่าน ข้อนั้นเป็นอาพาธของ ผู้บรรลุปฐมฌาน... สัญญามนสิการอันประกอบด้วย อากิญจัญญายตนะ ย่อมฟุ้งซ่าน ข้อนั้นเป็นอาพาธของผู้บรรลุ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน. (นิพพานสูตร) 37/830/1937/830/19 37/682/17 |
314 | [๒๓๙] อุปมาการหากินของแม่โคกับการปฏิบัติของภิกษุ พึงเจริญ กระทำให้ มากให้มั่นด้วยดี ตั้งแต่ปฐมฌานถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ เมื่อภิกษุเข้าออกก็ดี ซึ่งสมาบัตินั้น ๆ จิตของเธอเป็นจิตอ่อน ควรแก่การงาน ย่อมโน้มน้อมจิตไป เพื่อทำให้แจ้งอภิญญา 6 (คาวีสูตร) 37/835/337/835/3 37/686/4 |
315 | [๒๔๐] พระพุทธเจ้า กล่าวความสิ้นไปแห่งอาสวะ เพราะอาศัย ปฐมฌานบ้าง... อากิญจัญญายตนฌานบ้าง (ฌานสูตร) 37/842/337/842/3 37/692/3 |
316 | ภิกษุเมื่อสามารถจะครอบงำฉันทราคะ ในสมถะ และวิปัสสนาได้โดยประการ ทั้งปวง ย่อมบรรลุพระอรหัตได้ เมื่อไม่สามารถก็เป็นพระอนาคามี (อ.ฌานสูตร) 37/850/137/850/1 37/699/2 |
317 | [๒๔๑] พระอานนท์ ตอบคำถามของพระกาฬุทายี ถึงผู้ไม่เสวยอายตนะ (อานันทสูตร) 37/852/337/852/3 37/700/8 |
318 | [๒๔๒] กามคุณ 5 ประการ เรียกว่า โลก ในวินัยของพระอริยเจ้า (พราหมณสูตร) 37/859/137/859/1 37/705/24 |
319 | [๒๔๒] ภิกษุผู้บรรลุปฐมฌาน ถึงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ภิกษุนี้ เรียกว่า ได้ถึงที่สุดแห่งโลก และอยู่ในที่สุดแห่งโลก แต่ก็ยังนับเนื่องอยู่ในโลก ยังสลัด ตนไม่พ้นไปจากโลก เมื่ออาสวะของภิกษุสิ้นรอบแล้ว เรียกว่า ภิกษุได้ถึงที่สุด แห่งโลกแล้ว ข้ามพ้นตัณหาเครื่องข้องในโลกได้แล้ว. (พราหมณสูตร) 37/859/937/859/9 37/706/5 |
320 | [๒๔๓] สมัยใด ภิกษุบรรลุปฐมฌานถึงจตุตถฌาน ชื่อว่า ภิกษุได้ที่พึ่งแล้ว มารย่อม ทำอะไรไม่ได้ เมื่อภิกษุเข้าอรูปฌาน หรือสิ้นอาสวะแล้ว ชื่อว่า ได้กระทำมาร ให้เป็นที่สุด ให้ติดตามไม่ได้ ปิดตามารได้สนิท มารมองไม่เห็น (เทวสูตร) 37/864/1737/864/17 37/710/14 |
321 | มารย่อมไม่รู้จิตของภิกษุผู้เข้าอรูปาวจรสมาบัติ อันมีวัฏฏะเป็นบาท หรือมีวิปัสสนาเป็นบาท (อ.เทวสูตร) 37/867/337/867/3 37/712/17 |
322 | [๒๔๔] อุปมาการหาความสงบของพญาช้าง กับการปฏิบัติของภิกษุ. (นาคสูตร) 37/868/337/868/3 37/713/3 |
323 | [๒๔๕] พระอานนท์ พาตปุสสคฤหบดี ไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ พระองค์ทรงแสดง อนุบุพพวิหารสมาบัติ 9 ประการ (ตปุสสสูตร) 37/872/337/872/3 37/716/6 |
324 | [๒๔๖] พระอานนท์ กล่าวกับพระกาฬุทายี ถึงที่พระพุทธองค์ ตรัสว่า กามคุณ 5 เป็นที่แคบ, ปฐมฌานมีวิตกวิจารยังไม่ดับ ชื่อว่าที่แคบในปฐมฌานนี้ จนถึง บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ และอาสวะทั้งหลายของภิกษุสิ้นไป เพียงเท่านี้แล ที่เรียกว่า การบรรลุโอกาสในที่แคบ (ปัญจาลสูตร) 37/885/437/885/4 37/730/4 |
325 | [๒๔๗] พระอานนท์ ตอบพระกาฬุทายี ถึงที่พระพุทธองค์ตรัส กายสักขี (ปฐมกามเหสสูตร) 37/890/337/890/3 37/734/3 |
326 | [๒๔๘] พระอานนท์ ตอบพระกาฬุทายี ถึงที่พระพุทธองค์ตรัส บุคคลหลุดพ้นด้วย ปัญญา (ทุติยกามเหสสูตร) 37/892/337/892/3 37/736/3 |
327 | [๒๔๙] พระอานนท์ ตอบพระกาฬุทายี ถึงที่พระพุทธองค์ตรัส บุคคลหลุดพ้นโดย ส่วนสอง (ตติยกามเหสสูตร) 37/894/337/894/3 37/737/5 |
328 | [๒๕๐] พระอานนท์ ตอบพระกาฬุทายี ถึงที่พระพุทธองค์ตรัส ธรรมอันผู้บรรลุจะ พึงเห็นเอง. (ปฐมสันทิฏฐิกสูตร) 37/896/337/896/3 37/738/10 |
329 | [๒๕๑-๒๕๕] พระอานนท์ ตอบพระกาฬุทายี ถึงที่พระพุทธองค์ตรัส นิพพานอันบรรลุ ผู้บรรลุจะพึงเห็นเอง , ที่ตรัสว่านิพพานๆ , ที่ตรัสว่าปรินิพพาน ๆ , ที่ตรัสว่า ตทังคนิพพาน ๆ , ที่ตรัสทิฏฐธรรมนิพพาน. (สูตร ๖-๑๐) 37/898/337/898/3 37/739/3 |
330 | [๒๕๖-๒๖๕] พระอานนท์ ตอบพระกาฬุทายี ถึงที่พระพุทธองค์ตรัสว่า เขมะ, ผู้บรรลุธรรมอันเกษม, อมตะ, ผู้บรรลุอมตธรรม, ความไม่มีภัย, ผู้บรรลุธรรม อันไม่มีภัย ,ความสงบระงับ , ความสงบระงับตามลำดับ, นิโรธ , ความดับตาม ลำดับ (สูตร ๑-๑๐) 37/901/437/901/4 37/743/5 |
331 | [๒๖๖] ภิกษุยังละธรรม 9 ประการ ไม่ได้ เป็นผู้ไม่ควรเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งอรหัต. .(ธรรมปหายภัพพสูตร) (ธัมมปหายภัพพสูตร) 37/904/1037/904/10 37/747/9 |
332 | [๒๖๗] ภิกษุพึงเจริญสติปัฏฐาน 4 เพื่อละเหตุเครื่องให้สิกขาทุรพล 5 ประการ (สิกขาสูตร) 37/906/337/906/3 37/749/4 |
333 | [๒๖๘] ภิกษุพึงเจริญสติปัฏฐาน 4 เพื่อละนิวรณ์ 5 ประการ (นิวรณสูตร) (นีวรณสูตร) 37/907/237/907/2 37/750/12 |
334 | [๒๖๙] ภิกษุพึงเจริญสติปัฏฐาน 4 เพื่อละกามคุณ 5 ประการ (กามคุณสูตร) 37/907/1237/907/12 37/751/6 |
335 | [๒๗๐] ภิกษุพึงเจริญสติปัฏฐาน 4 เพื่อละอุปาทานขันธ์ 5 ประการ (อุปาทานขันธสูตร) 37/908/237/908/2 37/752/3 |
336 | [๒๗๑] ภิกษุพึงเจริญสติปัฏฐาน 4 เพื่อละสังโยชน์เบื้องต่ำ 5 ประการ (โอรัมภาคิยสูตร) 37/908/1037/908/10 37/752/12 |
337 | [๒๗๒] ภิกษุพึงเจริญสติปัฏฐาน 4 เพื่อละคติ 5 ประการ คือ นรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน เปรตวิสัย มนุษย์ เทวดา (คติสูตร) 37/909/237/909/2 37/753/3 |
338 | [๒๗๓] ภิกษุพึงเจริญสติปัฏฐาน 4 เพื่อละความตระหนี่ 5 ประการ มีตระหนี่ที่อยู่ เป็นต้น (มัจฉริยสูตร) 37/909/937/909/9 37/753/11 |
339 | [๒๗๔] ภิกษุพึงเจริญสติปัฏฐาน 4 เพื่อละสังโยชน์เบื้องบน 5 ประการ (อุทธัมภาคิยสูตร) 37/910/237/910/2 37/754/3 |
340 | [๒๗๕] ภิกษุพึงเจริญสติปัฏฐาน 4 เพื่อละตะปูตรึงใจ 5 ประการ (เจโตขีลสูตร) 37/910/1037/910/10 37/754/11 |
341 | [๒๗๖] ภิกษุพึงเจริญสติปัฏฐาน 4 เพื่อละธรรมเครื่องผูกมัดจิต 5 ประการ (วินิพันธสูตร) 37/911/1437/911/14 37/755/12 |
342 | [๒๗๗] ภิกษุพึงเจริญสัมมัปปธาน 4 เพื่อละเหตุเครื่องให้สิกขาทุรพล 5 ประการ (สัมมัปปธานวรรคที่ ๓) 37/914/237/914/2 37/758/2 |
343 | [๒๗๘] ภิกษุพึงเจริญสัมมัปปธาน 4 เพื่อละธรรมเครื่องผูกมัดจิต 5 ประการ (สัมมัปปธานวรรคที่ ๓) 37/914/1637/914/16 37/758/19 |
344 | [๒๗๙] ภิกษุพึงเจริญอิทธิบาท 4 เพื่อละเหตุเครื่องให้สิกขาทุรพล 5 ประการ (อิทธิปาทวรรคที่ ๔) 37/916/237/916/2 37/760/2 |
345 | [๒๘๐] ภิกษุพึงเจริญอิทธิบาท 4 เพื่อละธรรมเครื่องผูกมัดจิต 5 ประการ (อิทธิปาทวรรคที่ ๔) 37/916/1437/916/14 37/760/12 |
346 | [๒๘๑-๒๘๒] ภิกษุพึงเจริญธรรม 9 ประการ เพื่อรู้ยิ่งราคะ (วรรคที่ ๕) 37/918/237/918/2 37/762/2 |