1 | [๗๙] พระพุทธเจ้าสั่งให้ทำลายกุฎีดินล้วน (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/3/12/3/1 2/2/24 |
2 | [๘๒] พระธนิยะไปให้การเรื่องไม้ ในวังแล้วนั่งเหนืออาสนะที่เขาจัดถวาย ส่วนพระราชานั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/5/82/5/8 2/5/2 |
3 | [๘๓] ชาวบ้านเพ่งโทษติเตียนภิกษุ (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/6/162/6/16 2/6/6 |
4 | [๘๕] อธิบายความหมายของคำว่า "ภิกษุ" (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/12/112/12/11 2/11/14 |
5 | [๑๐๒] ภิกษุตู่เอา , ฟ้องร้องยังโรงศาล , ปักหลักรุกล้ำพื้นที่ ถ้าประโยคนั้นสำเร็จ ต้องอาบัติปาราชิก (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/22/82/22/8 2/21/8 |
6 | [๑๐๔] ภิกษุลักทรัพย์ ที่อยู่ในป่า อันมนุษย์หวงแหน ต้องอาบัติปาราชิก (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/23/22/23/2 2/22/1 |
7 | อรรถกถาอธิบายไว้ 2/169/12/169/1 2/162/14 |
8 | [๑๐๙] ภิกษุฟ้องร้องยังโรงศาล แพ้หรือชนะ ก็เป็นอาบัติหนัก (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/25/112/25/11 2/24/9 |
9 | [๑๑๐] ภิกษุหลบเลี่ยงภาษี ต้องอาบัติทุกกฏ (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/26/22/26/2 2/24/20 |
10 | อรรถกถาอธิบายไว้ 2/195/12/195/1 2/186/8 |
11 | [๑๒๒] อาการที่ถือว่าเป็นการลักทรัพย์ 5 อย่าง (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/30/152/30/15 2/29/17 |
12 | [๑๒๓] อาการ 6 อย่าง ของการต้องอาบัติ ปาราชิก (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/31/112/31/11 2/30/10 |
13 | [๑๒๔] ภิกษุลักทรัพย์ที่ไม่มีผู้หวงแหน แต่เข้าใจว่ามีผู้หวงแหน ต้องอาบัติทุกกฏ (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/32/72/32/7 2/31/5 |
14 | [๑๒๕] ข้อยกเว้นที่ไม่ปรับอาบัติ เรื่องการลักทรัพย์ (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/33/12/33/1 2/32/1 |
15 | [๑๓๔] ภิกษุไม่ควรถือเอาผ้าบังสุกุล ที่ศพยังสดอยู่ ถ้าถือเอาต้องอาบัติทุกกฏ (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/42/182/42/18 2/41/17 |
16 | [๑๓๗] ภิกษุ ให้อนุปสัมบันต้มแกง เนื้อเดนสัตว์ ให้ฉันได้ ไม่เป็นอาบัติ 2/43/102/43/10 2/42/11 |
17 | [๑๔๒] ภิกษุ ลักฟูกของสงฆ์ ต้องอาบัติปาราชิก (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/48/82/48/8 2/47/8 |
18 | [๑๔๘] เรื่อง ภิกษุถือเอาสิ่งของ ที่ผู้อื่นขโมยเอามา (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/53/92/53/9 2/52/13 |
19 | [๑๕๓] ภิกษุ ลักปล่อยปลา ที่ติดลอบด้วยกลัวเจ้าของเขามาเห็น ต้องอาบัติปาราชิก (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/61/12/61/1 2/59/21 |
20 | [๑๗๐] เครื่องใช้สอยในที่แห่งหนึ่ง ภิกษุไม่พึงนำไปใช้สอย ในที่อีกแห่งหนึ่งรูปใดใช้ ต้องอาบัติทุกกฏ (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/72/212/72/21 2/71/20 |
21 | อรรถกถาอธิบายไว้ 2/250/142/250/14 2/235/14 |
22 | [๑๗๒] เรื่อง พระอัชชุกะบอกที่ฝังทรัพย์ ตามคำของเศรษฐีเจ้าของทรัพย์ 2/74/22/74/2 2/73/5 |
23 | [๑๗๓] เรื่อง พระปิลินทวัจฉะนำเด็กที่โจรลักตัวไปให้กลับมาด้วยฤทธิ์ 2/75/52/75/5 2/74/8 |
24 | [๑๗๔] ภิกษุ ไม่ได้ต้องปาราชิก แต่เข้าใจว่าต้องปาราชิก แล้วไปทำผิดวินัยย่อมมีโทษ (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/75/142/75/14 2/74/18 |
25 | เมืองราชคฤห์นี้ จะเป็นเมืองในครั้งพุทธกาล และจักรพรรดิกาล นอกนั้นเป็นเมืองร้าง ยักษ์หวงห้าม (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/77/152/77/15 2/76/10 |
26 | ภิกษุ ผู้จะจำพรรษา ต้องมีเสนาสนะ พึงขอหัตถกรรม ถ้าไม่ได้พึงทำเอง (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/78/192/78/19 2/77/20 |
27 | กุฎี ดินที่สร้างผสมด้วยทัพสัมภาระใดๆ ย่อมควร (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/83/142/83/14 2/82/12 |
28 | กุฎี ดินล้วนเป็นของไม่สมควร พระพุทธองค์สั่งให้ทำลาย (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/84/112/84/11 2/83/7 |
29 | บริขาร ที่ไม่สมควร ควรตัดหรือทำลายเสีย (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/84/172/84/17 2/83/13 |
30 | ข้อแนะนำ ในการใช้ร่ม และจีวร (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/85/12/85/1 2/83/19 |
31 | วิธีซัก และย้อมจีวร (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/86/42/86/4 2/84/21 |
32 | บริขารที่ควรใช้ และไม่ควรใช้ (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/86/202/86/20 2/85/15 |
33 | ฝักกุญแจ และบริขารเบ็ดเตล็ดที่ควรใช้ และไม่ควรใช้ (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/88/16 2/88/16 2/87/13 |
34 | 20 มาสก = 1 กหาปณะ , 5 มาสก = 1 บาท (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/98/82/98/8 2/96/15 |
35 | พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ทรงบัญญัติปาราชิก ด้วยเงิน 1 บาท (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/98/132/98/13 2/96/22 |
36 | เสนาสนะป่า ควรห่างจากหมู่บ้าน 500 ชั่วคันธนู ( 1 กิโลเมตร) (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/104/162/104/16 2/102/12 |
37 | ฐานะ 5 ประการ ในการพิจารณา ปรับภิกษุผู้ลักทรัพย์ (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/112/12/112/1 2/110/1 |
38 | เรื่อง ภิกษุลักจีวร พระวินัยธรตัดสินว่า ไม่เป็นอาบัติปาราชิก (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/112/102/112/10 2/110/10 |
39 | เรื่อง ภิกษุลักกระบวยน้ำทำจากกะลามะพร้าว (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/114/102/114/10 2/112/9 |
40 | อธิบายทรัพย์ ที่ควรแก่ทุติยปาราชิก (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/117/122/117/12 2/115/7 |
41 | พระพุทธเจ้าทรงตั้งมาติกา แล้วตรัสวิภังค์แห่งบทภาชนีย์ (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/119/1 2/119/1 2/116/19 |
42 | อาบัติทุกกฏ 8 อย่าง (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/122/202/122/20 2/120/16 |
43 | ความหมายของคำว่าทุกกฏ (ความทำชั่ว) และถุลลัจจัย (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/125/142/125/14 2/123/8 |
44 | ภิกษุ ฟ้องร้องตู่เอาที่ดิน ทั้งภิกษุ ผู้พิพากษาโกง หรือเป็นพยานเท็จ เมื่อเจ้าของทอดธุระ หรือแพ้คดี ภิกษุเหล่านั้นทั้งหมดเป็นปาราชิก (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/163/142/163/14 2/158/4 |
45 | ภิกษุ ตู่เอาที่สงฆ์ผู้มาจาก 4 ทิศ ตู่ไม่ขึ้น ทั้งไม่อาจจะแย่งชิงไปได้ (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/164/42/164/4 2/158/19 |
46 | ไวยาวัจกร ที่สงฆ์เลี้ยงไว้ด้วยค่าบำเหน็จ....ก็มี (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/175/42/175/4 2/168/15 |
47 | ภิกษุ เมื่อถือเอาของครุภัณฑ์ที่ภิกษุสงฆ์ รักษาคุ้มครอง ก็พึงปรับอาบัติตามราคาสิ่งของ (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/175/92/175/9 2/168/20 |
48 | ถ้าโจร ลักของในเรือนคลังสงฆ์ พึงปรับสินไหมภิกษุผู้รักษา (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/190/42/190/4 2/181/23 |
49 | พระพุทธเจ้าแสดงปาราชิกแห่งการลักทรัพย์ด้วยอาการ 5 (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/218/22/218/2 2/205/7 |
50 | พระพุทธเจ้าทรง แสดงอนาบัติ (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/219/92/219/9 2/206/17 |
51 | ทรงอนุญาตให้ถือวิสาสะแก่บุคคลผู้ประกอบด้วยองค์ 5 (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/219/192/219/19 2/207/5 |
52 | แม้ท้าวสักกเทวราชมาออกร้านขายผ้า ภิกษุมาถือเอาผ้านั้นไปไม่เป็นอาบัติ (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/221/142/221/14 2/208/24 |
53 | ภิกษุ ลักของสงฆ์ ที่มีราคา 5 มาสกขึ้นไป เป็นปาราชิก (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/236/212/236/21 2/223/4 |
54 | เมื่อภิกษุทั้งหลายจะน้อมสิ่งของ ที่ทายก ระบุเจาะจงถวาย ควรทำ อปโลกน์นกรรมเพื่อความเห็นชอบ แห่งสงฆ์ก่อน (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/244/112/244/11 2/229/22 |
55 | [๑๗๖] เทวดาที่เป็นฝ่ายมาร มาบอกให้ฆ่าภิกษุ (ตติยปาราชิกกัณฑ์) 2/255/62/255/6 2/240/4 |
56 | [๒๑๓] ภิกษุ ไม่ควรยังตนให้ตก รูปใดให้ตก ต้องอาบัติทุกกฏ (ตติยปาราชิกกัณฑ์) 2/291/22/291/2 2/275/12 |
57 | [๒๑๓] ภิกษุ ไม่ควรกลิ้งศิลาเล่น รูปใดกลิ้ง ต้องอาบัติทุกกฏ (ตติยปาราชิกกัณฑ์) 2/291/92/291/9 2/275/21 |
58 | [๒๑๕] ภิกษุ ให้เภสัชที่ทำให้ครรภ์ตก ต้องอาบัติปาราชิก (ตติยปาราชิกกัณฑ์) 2/301/22/301/2 2/285/1 |
59 | [๒๑๕] ภิกษุ แนะนำให้เขาทำแท้ง ต้องอาบัติปาราชิก (ตติยปาราชิกกัณฑ์) 2/303/12/303/1 2/287/1 |
60 | [๒๑๘] ภิกษุ ฆ่ายักษ์ ต้องอาบัติถุลลัจจัย (ตติยปาราชิกกัณฑ์) 2/305/12/305/1 2/289/1 |
61 | ปฐมฌาน มีลักษณะ 10 และความงาม 3 (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/318/152/318/15 2/302/21 |
62 | ภิกษุทั้ง 500 เคยเป็นนายพรานร่วมกันฆ่าเนื้อ และนก จึงต้องโดนฆ่ากลับคืน 2/321/15 2/321/15 2/305/19 |
63 | เสนาสนะที่เหมาะแก่การเจริญอานาปานสติ (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/334/152/334/15 2/318/23 |
64 | อานาปานสติเป็นสุขวิหารธรรมของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระสาวก ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/335/162/335/16 2/319/22 |
65 | วิธีอบรมสติ โดยอาการ 32 อย่าง (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/338/162/338/16 2/322/14 |
66 | จะเรียนกรรมฐานต้องบำเพ็ญศีลให้บริสุทธิ์ก่อน (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/350/42/350/4 2/333/9 |
67 | เมื่อชำระศีลให้บริสุทธิ์แล้ว ควรตัดความกังวล 10 อย่าง (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/350/202/350/20 2/334/3 |
68 | กรรมฐาน 2 (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/351/82/351/8 2/334/11 |
69 | ควรจะเรียนกรรมฐานกับใคร ? (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/352/192/352/19 2/335/23 |
70 | กรรมฐานมีสนธิที่ต่อ 5 อย่าง คือ การเรียน , การสอบถาม , ความปรากฏ ความแน่นแฟ้น , ความกำหนดหมาย (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/353/152/353/15 2/336/18 |
71 | วิธีมนสิการอานาปานสติกรรมฐาน 8 อย่าง (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/354/152/354/15 2/337/16 |
72 | กรรมฐานเป็นอันเดียวกัน แต่ปรากฏโดยความต่างกัน เพราะสัญญาต่าง (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/365/182/365/18 2/348/2 |
73 | อุบายเพื่อรักษา อานาปานสติกรรมฐาน ไม่ให้เสื่อม (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/368/142/368/14 2/350/19 |
74 | เริ่มตั้งวิปัสสนาอย่างไร ? (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/370/92/370/9 2/352/10 |
75 | เริ่มแรกแห่งการลงสู่ครรภ์มารดา (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/381/92/381/9 2/362/20 |
76 | ประโยคแห่งการฆ่า 6 อย่าง (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/385/42/385/4 2/366/8 |
77 | ยักษ์มาไม่ปรากฏ เมื่อประหารก็ไม่ปรากฏ แต่สัตว์ที่ถูกยักษ์ประหารย่อมตาย (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/386/132/386/13 2/367/16 |
78 | คนหลายคนทำร้ายคนๆ เดียว ผู้ถูกทำร้ายตายด้วยใคร ผู้นั้นเท่านั้นมีกรรมพันธุ์ (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/392/132/392/13 2/373/7 |
79 | ภิกษุเสียบดาบในกองฟาง ถูกพ่อ แม่ หรือพระอรหันต์ ไม่เป็นปาราชิก ไม่เป็นอนันตริยกรรม เพราะไม่ต้องการฆ่า (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/393/192/393/19 2/374/13 |
80 | พึงสอบสวนฐานะ 5 ประการ ในการวินิจฉัย ปาราชิกข้อ3 (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/395/132/395/13 2/376/6 |
81 | ว่าด้วยภิกษุ สั่งผู้อื่นให้ไปทำการฆ่า (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/399/152/399/15 2/380/12 |
82 | อธิบายการพรรณนา ความตาย ด้วยทูต และหนังสือ (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/406/52/406/5 2/387/5 |
83 | อาสนะเช่นไร ต้องพิจารณา เช่นไร ไม่ต้องพิจารณา ก่อนที่ภิกษุจะนั่ง (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/424/82/424/8 2/405/7 |
84 | ครรภ์ตั้งอยู่ไม่ได้ ด้วยอาการ 2 อย่าง คือ ลม ,สัตว์เล็กๆ (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/430/212/430/21 2/411/21 |
85 | ภิกษุ ควรทำยาให้แก่ใครบ้าง ? (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/431/62/431/6 2/412/6 |
86 | ภิกษุ ผู้ไม่หวังตอบแทน ควรทำยาให้แก่คน 5 จำพวกนี้ (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/433/192/433/19 2/414/20 |
87 | เรื่อง สวดพระปริตร ถ้าภิกษุให้น้ำจากวิหาร หรือเส้นด้ายของตนเป็นทุกกฏ (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/435/82/435/8 2/416/8 |
88 | อนามัฏฐบิณฑบาต(อาหารที่ภิกษุบิณฑบาตได้มายังไม่ได้ฉัน) ควรให้แก่พ่อ-แม่ คนบำรุงพ่อแม่ ไวยาวัจกรผู้เตรียมจะบวชได้ (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/436/62/436/6 2/417/4 |
89 | ปฏิสันถารภิกษุควรทำแก่ผู้จรมา คนเข็ญใจ โจร อิสรชน (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/436/212/436/21 2/417/20 |
90 | พระอภัยเถระ ทำปฏิสันถารแก่โจร โจรจึงไม่ปล้นวัด (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/437/142/437/14 2/418/14 |
91 | ภิกษุ ฆ่ายักษ์ด้วยการปั้นหุ่น ต้องอาบัติถุลลัจจัย (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/440/12/440/1 2/421/1 |
92 | ภิกษุ ถูกผีสิง ควรเอาใบตาล หรือเส้นด้ายปริตรผูกไว้ที่มือและเท้า (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/442/82/442/8 2/423/8 |
93 | เมื่อมีไฟไหม้ลามมา ภิกษุจะจุดไฟรับ หรือถากหญ้า...ก็ควร (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/443/192/443/19 2/424/20 |
94 | ยาดอง โลณโสจิรกะ เป็นยาแก้โรคอย่างชะงัด (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/445/162/445/16 2/426/15 |
95 | [๒๓๐] มหาโจร 5 จำพวก (จตุตถปาราชิกกัณฑ์) 2/452/12/452/1 2/432/18 |
96 | [๒๓๐] พระทุศีล กินเหล็กแดง ดีกว่ากินข้าวชาวบ้าน (จตุตถปาราชิกกัณฑ์) 2/453/172/453/17 2/434/6 |
97 | [๒๓๒] ความสำคัญว่าได้บรรลุ เป็นอัพโพหาริก (จตุตถปาราชิกกัณฑ์) 2/456/42/456/4 2/436/14 |
98 | [๒๘๑] ภิกษุ ไม่ประสงค์จะกล่าวอวด ไม่ต้องอาบัติ (จตุตถปาราชิกกัณฑ์) 2/574/182/574/18 2/558/5 |
99 | [๒๘๔] ภิกษุ อยู่ป่าเพื่อให้คนยกย่อง ต้องอาบัติทุกกฏ (จตุตถปาราชิกกัณฑ์) 2/577/32/577/3 2/561/4 |
100 | [๒๘๘] ภิกษุ อยู่ในที่ลับ พูดอวด ต้องอาบัติทุกกฏ (จตุตถปาราชิกกัณฑ์) 2/579/122/579/12 2/563/13 |
101 | [๒๙๕] สาวกทั้งหลายย่อมเป็นผู้มีจักษุอยู่ ย่อมเป็นผู้มีญาณอยู่ พูดจริงไม่ต้องอาบัติ (จตุตถปาราชิกกัณฑ์) 2/590/112/590/11 2/574/8 |
102 | [๒๙๕] ผลกรรมของ ผู้พิพากษา พิพากษาโกง (จตุตถปาราชิกกัณฑ์) 2/595/12/595/1 2/578/19 |
103 | [๒๙๕] ผลกรรมของ ผู้เป็นชู้ กับภรรยาผู้อื่น (จตุตถปาราชิกกัณฑ์) 2/595/142/595/14 2/579/10 |
104 | [๒๙๕] ผลกรรมของ ผู้เป็นแม่มด (จตุตถปาราชิกกัณฑ์) 2/597/132/597/13 2/581/5 |
105 | อรรถกถาอธิบายไว้ 2/656/72/656/7 2/638/1 |
106 | [๒๙๖] แม่น้ำ ตโปทา ไหลผ่านมหานรก 2 ขุม (จตุตถปาราชิกกัณฑ์) 2/602/92/602/9 2/586/3 |
107 | มหาโจร ในพระศาสนามี 5 จำพวก (จตุตถปาราชิกวรรณนา) 2/611-6142/611-614 2/595-598 |
108 | มิจฉาชีพขั้นสุดยอด (จตุตถปาราชิกวรรณนา) 2/616/162/616/16 2/601/3 |
109 | ความสำคัญว่าได้บรรลุ ย่อมเกิดขึ้นแก่ใคร ? (จตุตถปาราชิกวรรณนา) 2/619/12/619/1 2/603/7 |
110 | เรื่องสอบสวนดูข้อปฏิบัติ ของภิกษุผู้อ้างตนว่าได้บรรลุธรรม (จตุตถปาราชิกวรรณนา) 2/625/12/625/1 2/608/21 |
111 | ผู้ต้องปาราชิกแล้ว เปลี่ยนเพศเป็นคฤหัสถ์ สามารถยังทางสวรรค์ หรือยังทางพระนิพพานให้สำเร็จได้ (จตุตถปาราชิกวรรณนา) 2/626/142/626/14 2/610/11 |
112 | พระมหาโมคคัลลานะ มีความสำคัญว่าได้ยินเสียงภายในสมาบัติ 2/660/52/660/5 2/642/7 |
113 | บัณเฑาะก์ สัตว์ดิรัจฉาน คนสองเพศ ไม่ถูกห้ามสวรรค์ แต่ถูกห้ามมรรค 2/662/42/662/4 2/644/7 |
114 | อนุโลมปาราชิก 4 (จตุตถปาราชิกวรรณนา) 2/663/12/663/1 2/645/2 |