1 | ต้นเหตุอุปัชฌายวัตร (มหาขันธกะ) 6/136/1 6/77/15 |
2 | ทรงอนุญาตอุปัชฌาย์ (มหาขันธกะ) 6/138/4 6/79/18 |
3 | วิธีถืออุปัชฌาย์ (มหาขันธกะ) 6/138/17 6/80/9 |
4 | อุปัชฌายวัตร (มหาขันธกะ) 6/139/7 6/81/1 |
5 | สัทธิวิหาริกวัตร (มหาขันธกะ) 6/154/1 6/86/1 |
6 | การประณามและการให้ขอขมา ต่ออุปัชฌาย์ (มหาขันธกะ) 6/160/1 6/90/19 |
7 | องค์แห่งการประณาม (มหาขันธกะ) 6/162/5 6/93/7 |
8 | พระอุปเสนวังคันตบุตร อุปสมบทสัทธิวิหาริก (มหาขันธกะ) 6/174/16 6/102/8 |
9 | ภิกษุมีพรรษา ๑๐ แต่เป็นผู้เขลาไม่ควรให้อุปสมบท (มหาขันธกะ) 6/178/11 6/105/3 |
10 | องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด (มหาขันธกะ) 6/198/1 6/124/1 |
11 | องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด (มหาขันธกะ) 6/206/12 6/132/7 |
12 | ไม่ควรถือตามอุปัชฌาย์ทุกอย่าง (สัตตสติกขันธกะ) 9/543/1 9/531/5 |
13 | อุปัชฌาย์โง่เขลา ถ้าลาสามครั้งไม่อนุญาต ครั้งที่สี่ไปได้โดยไม่ต้องอาบัติ. (อ.มหาขันธกะ) 6/153/10 6/259/7 |
14 | มูลเหตุที่ทรงอนุญาตอาจารย์ (มหาขันธกะ) 6/178/15 6/105/17 |
15 | มูลเหตุอันเตวาสิกวัตร (วัตตขันธกะ) 9/375/5 9/369/3 |
16 | วิธีถือนิสัยอาจารย์ (มหาขันธกะ) 6/180/5 6/107/1 |
17 | ว่าด้วยการประณามและวิธีการประณาม ของอาจารย์ (มหาขันธกะ) 6/191/10 6/117/6 |
18 | องค์แห่งการประณาม ๕ (มหาขันธกะ) 6/193/3 6/119/8 |
19 | การให้ถือนิสัย (มหาขันธกะ) 6/195/15 6/122/1 |
20 | นิสัยระงับจากอุปัชฌาย์และอาจารย์ (มหาขันธกะ) 6/197/1 6/123/3 |
21 | ธรรมของเจ้าอาวาสที่ควรยกย่องและที่ไม่ควรยกย่อง (อาวาสิกสูตร) 36/485/3 36/478/4 |
22 | ธรรมของเจ้าอาวาสที่ควรสรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรย์ (ปิยสูตร) 36/486/8 36/479/10 |
23 | เจ้าอาวาสที่ทำให้อารามงดงาม (โสภณสูตร) 36/487/11 36/480/12 |
24 | เจ้าอาวาสผู้มีอุปการะมากแก่อาวาส (พหุปการสูตร) 36/488/8 36/481/10 |
25 | การอนุเคราะห์ของเจ้าอาวาส (อนุกัมปกสูตร) 36/489/7 36/482/12 |
26 | ธรรมที่ทำให้เจ้าอาวาสเลวและดี (ยถาภตอวัณณสูตร) 36/490/9 36/483/16 |
27 | ธรรมที่ทำให้เจ้าอาวาสตกต่ำและไม่ตกต่ำ (ปฐมยถาภตมัจเฉรสูตร) 36/492/14 36/486/6 |
28 | ความหมายของคำว่า สังฆปริณายก (อ.มหาปรินิพพานสูตร) 13/351/8 13/342/24 |
29 | ไม่ชื่อว่าเถระ เพราะเหตุสักว่านั่งบนอาสนะพระเถระ (เรื่องพระลกุณฏกภัททิยเถระ) 43/76/16 43/59/17 |
30 | ภิกษุมากพรรษา แต่โง่เขลา จะถือนิสัย กับ ผู้ฉลาดมีพรรษาอ่อนกว่าก็ได้. (อ.มหาขันธกะ) 6/279/7 6/291/10 |
31 | บุคคลที่ภิกษุไม่ควรไหว้อีก 25 จำพวก (อุปาลิปัญจกะ) 10/857/18 10/784/10 |
32 | บุคคลที่ภิกษุควรไหว้อีก 5 จำพวก (อุปาลิปัญจกะ) 10/860/1 10/786/2 |
33 | ภิกษุผู้เห็นแก่ลาภสักการะ ชาวโลกย่อมติเตียน ถึงอุปัชฌาย์ และ อาจารย์ด้วย . (อ.ธรรมทายาทสูตร) 17/221/1 17/182/11 |