1 | ความหมายของคำว่า สรณคมน์ (อ.ภยเภรวสูตร) 17/326/19 17/264/14 |
2 | ความหมายของ พุทธ - ธรรม - สงฆ์ (อ.ภยเภรวสูตร) 17/327/3 17/264/24 |
3 | ประเภทแห่งการถึงสรณะ (อ.ภยเภรวสูตร) 17/327/18 17/265/14 |
4 | การถึงสรณะมี 4 อย่าง (อ.ภยเภรวสูตร) 17/328/8 17/265/25 |
5 | เหตุที่ไม่ทำให้สรณะขาด (อ.ภยเภรวสูตร) 17/331/13 17/268/7 |
6 | การหมดสภาพของสรณะมี 2 อย่าง (อ.ภยเภรวสูตร) 17/334/6 17/270/6 |
7 | เพราะเหตุไร ? การถึงสรณะจึงเศร้าหมอง (อ.ภยเภรวสูตร) 17/334/1 17/270/7 |
8 | อุบาสก คือ ใคร ? (อ.ภยเภรวสูตร) 17/335/3 17/270/18 |
9 | อุบาสกนั้นมีศีลเป็นอย่างไร ? (อ.ภยเภรวสูตร) 17/335/11 17/271/6 |
10 | อาชีพของอุบาสก (อ.ภยเภรวสูตร) 17/335/17 17/271/11 |
11 | ความวิบัติ / คุณสมบัติ ของอุบาสก (อ.ภยเภรวสูตร) 17/336/1 17/271/17 |
12 | อุบาสกจัณฑาล (จัณฑาลสูตร) 36/373/2 36/368/3 |
13 | ที่พึ่ง ที่ระลึกอันเกษม (เรื่องปุโรหิตชื่อ อัคคิทัต) 42/346/13 42/294/10 |
14 | ตัวอย่างของผู้ถึงสรณะ ถึงสรณะตอนใกล้ตายพร้อมกับได้บรรลุโสดาบัน. (ปฐมสรกานิสูตร) 31/334/3 31/334/14 |
15 | การถึงสรณะของพระเจ้าอชาตศัตรู (อ.สามัญญผลสูตร) 11/493/5 11/417/6 |
16 | การถึงสรณะของ การณปาลีพราหมณ์ (การณปาลีสูตร) 36/423/18 36/416/17 |
17 | ผลของการถึงสรณะ (อ.สรณคมนิยเถราปทาน) 71/388/7 71/361/11 |
18 | สาวกของพระพุทธเจ้าควรคิดแบบ พระเจ้ามหานามศากยะ (โคธาสูตร) 31/332/7 31/332/9 |
19 | พึ่งพุทธ - ธรรม - สงฆ์ อย่างถูกต้องเจริญแน่ (สักกสูตร) 29/119/4 29/117/17 |
20 | ชะตากรรมในโลกหน้า ของผู้ไม่มีพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง (อ.จุลลสีหนาทสูตร) 18/28/21 18/27/5 |
21 | การเลื่อมใสในพระรัตนตรัยอันเลิศ ที่ไม่ใช่พุทธรูป และวัตถุทั้งหลาย (ปสาทสูตร) 45/556/5 45/536/5 |
22 | วัตถุทั้งหลาย พระพุทธเจ้าไม่ให้เอาเป็นที่พึ่ง (อ.อัตตทีปสูตร) 27/90/4 27/93/4 |
23 | ข้ออุปมาคำว่า พระรัตนตรัย (พรรณนาพระสรณตรัย) 39/19/6 39/19/2 |
24 | ออกจากการเซ่นสรวงที่ผิด สู่การบูชาที่ถูกต้อง (อ.พรหมเทวสูตร) 25/137/5 25/118/18 |
25 | ออกจากการบูชาที่ผิด สู่การบูชาที่ถูกต้อง (เรื่องพราหมณ์ผู้เป็นลุงฯ) 41/451/20 41/373/11 |
26 | ออกจากการบูชาที่ผิด สู่การบูชาที่ถูกต้อง (อ.ยัญญสูตร) 24/445/19 24/355/1 |
27 | ออกจากการบูชาที่ผิด สู่การบูชาที่ถูกต้อง (จุนทสูตร) 38/428/18 38/432/17 |
28 | ยึดติดในบุคคล...พาให้เสื่อม (ปุคคลปสาทสูตร) 36/501/17 36/495/12 |
29 | การถือประมาณของบุคคล (รูปสูตร) 35/210/4 35/218/3 |
30 | พึ่งพระพุทธ-พระธรรม-พระสงฆ์ ยอดเยี่ยมกว่า (ปุโรหิตชื่ออัคคิทัต) 42/345/21 42/294/5 |
31 | วิธีถึงพระพุทธ-ธรรม-สงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง (อ.สามัญญผลสูตร) 11/485/3 11/410/11 |
32 | วิธีถึงพระพุทธ-ธรรม-สงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง (อ.ภยเภรวสูตร) 17/328/8 17/265/25 |
33 | วิธีถึงพระพุทธ-ธรรม-สงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง (พรรณาพระสรณตรัย) 39/11/11 39/11/14 |
34 | ชาวพุทธที่ไตรสรณะแตก (ขาด) ย่อมเศร้าหมอง (อ.สามัญญผลสูตร) 11/489/13 11/415/1 |
35 | ชาวพุทธที่ไตรสรณะขาด (อ.ภยเภรวสูตร) 17/334/6 17/271/23 |
36 | ชาวพุทธที่ไตรสรณะขาด (พรรณาพระสรณตรัย) 39/12/11 39/12/11 |
37 | ผลของการถึงไตรสรณะที่เป็นโลกิยะ (อ.สามัญญผลสูตร) 11/488/2 11/413/14 |
38 | สามัญญผล 4 เป็นผลของการถึงไตรสรณะที่เป็นโลกุตตระ (อ.ภยเภรวสูตร) 17/332/4 17/269/12 |
39 | ตัวอย่างของผู้ถึงไตรสรณะ (อ.สามัญญผลสูตร) 11/493/5 11/417/6 |
40 | ตัวอย่างของผู้ถึงไตรสรณะ (การณปาลีสูตร) 36/423/18 36/416/17 |
41 | คุณสมบัติของชาวพุทธ (อ.สามัญญผลสูตร) 11/490/6 11/415/1 |
42 | คุณสมบัติของชาวพุทธ (อ.ภยเภรวสูตร) 17/335/1 17/270/18 |
43 | ถึงสรณะแล้วไม่ตกต่ำ (อ.ฉัตตมาณวกวิมาน) 48/451/7 48/416/18 |
44 | ถึงสรณะแล้วไม่ตกต่ำ (อ.จัณฑาลิวิมาน) 48/181/11 48/164/10 |
45 | อานิสงส์ของการถึงไตรสรณะ (ตีณิสรณคมนิยเถราปทาน) 71/388/7 71/91/11 |
46 | ผลของการถึงสรณะที่ 1 (อ.สรณคมนิยเถราปทาน) 71/388/7 71/361/11 |
47 | ครอบครัวตัวอย่างของชาวพุทธ (ธัมมิกอุบาสก) 40/175/7 40/131/5 |
48 | ทิฏฐุชุกรรมได้แก่โลกียสรณคมน์ หนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ 10 (อ.สามัญญผลสูตร) 11/484/20 11/409/5 |
49 | สรณะ ได้แก่ (สัมมาทิฏฐิที่มีศรัทธาในพระรัตนตรัย) ท่านเรียกว่า ทิฏฐุชุกรรม (การทำความเห็นให้ตรง) ซึ่งอยู่ในบุญกิริยาวัตถุ 10 (อ.ภยเภรวสูตร) 17/328/4 17/265/21 |
50 | บุญกิริยา วัตถุ 10 ประเภท (อ.จิตตุปปาทกัณฑ์) 75/427/15 75/403/2 |
51 | เมื่อบุคคลทำความเห็นให้ตรง ชื่อว่า บุญกิริยา (อ.จิตตุปปาทกัณฑ์) 75/430/19 75/405/20 |
52 | ผู้ไม่ได้ทำบุญญาธิการไว้ ย่อมเหมาะในการถึงสรณคมน์เท่านั้น. (อ.พหุการสูตร) 34/80/9 34/81/21 |
53 | บุญกิริยา วัตถุ 10 ประเภท (อ.จิตตุปปาทกัณฑ์) 75/427/15 75/403/2 |
54 | เมื่อบุคคลทำความเห็นให้ตรง ชื่อว่า บุญกิริยา (อ.จิตตุปปาทกัณฑ์) 75/430/19 75/405/20 |
55 | ผู้ไม่ได้ทำบุญญาธิการไว้ ย่อมเหมาะในการถึงสรณคมน์เท่านั้น. (อ.พหุการสูตร) 34/80/9 34/81/21 |
56 | บุญกิริยาวัตถุ 10 ประการ (อ.จิตตุปปาทกัณฑ์) 75/427/15 75/403/2 |
57 | ทาน 2 ประเภท : อามิส / ธรรม (พราหมณสูตร) 45/634/10 45/610/6 |
58 | ธรรมทานชนะการให้ทั้งปวง (เรื่องท้าวสักกะ) 43/325/5 43/249/3 |
59 | พระพุทธเจ้าสรรเสริญบุคคลที่เลือกให้ทาน (อังกุรเทพบุตร) 43/334/18 43/256/8 |
60 | ทำบุญกับพระทุศีลไม่มีบุญให้อุทิศ (อ.ทักขิณาวิภังคสูตร) 23/409/19 23/387/2 |
61 | ทำบุญกับพระทุศีล โยมมีนรกรอ (อ.วสภเถรคาถา) 51/47/8 51/46/8 |
62 | ของที่ไม่ควรนำไปถวายพระ (วัตถุอนามาส) (เตรสกัณฑวัณวรรณนา) 3/173/17 3/165/1 |
63 | ไม่จำเป็นต้องถวายของใส่มือพระ (อ.มหาปทานสูตร) 13/159/22 13/156/7 |
64 | ความปรารถนาของผู้มีศีลย่อมสำเร็จ ในเหตุเกิดแห่งทาน 8 ประการ (ทานูปปัตติสูตร) 37/481/2 37/398/10 |
65 | ควรทำบุญอุทิศให้เทวดาในที่อยู่อาศัย (สุนีธ-วัสสการพราหมณ์) 7/118/13 7/113/2 |
66 | เมื่อให้ส่วนบุญ...ได้บุญมากขึ้น (อ.สูตรที่ 5) 32/310/4 32/260/26 |
67 | ให้อาหารปลา...แล้วอุทิศบุญได้ (มัจฉทานชาดก) 58/304/8 58/224/6 |
68 | ทิ้งของโสโครกก็ยังได้บุญ (ชัปปสูตร) 34/228/16 34/236/23 |
69 | ยินดีในบุญของผู้อื่นได้บุญมาก (อ.วิหารวิมาน) 48/360/10 48/333/3 |
70 | ยินดีในบุญผู้อื่น...ช่วยให้รอดตาย (อ.สีลานิสังสชาดก) 57/221/14 57/166/2 |
71 | ยินดีในบุญผู้อื่น...ช่วยให้พ้นภัย (อ.สังขชาดก) 59/813/6 59/560/3 |
72 | ทานของไม่ดี...มีผลน้อย (ปายาสิราชัญญสูตร) 14/400/4 14/385/21 |
73 | ทานของไม่ดี...แต่มีผลมาก (เวลามสูตร) 37/777/7 37/638/11 |
74 | การให้วิหาร ชื่อว่าให้ทุกอย่าง (อ.รัตนจังกมนกัณฑ์) 73/58/19 73/48/9 |
75 | การทำบุญอุทิศให้เปรตญาติ ของพระเจ้าพิมพิสาร ไม่มีการกรวดน้ำ. (อ.ติโรกุฑฑสูตร) 39/284/8 39/275/25 |
76 | ทำบุญแล้ววิมานในสวรรค์ปรากฏทันที (นายนันทิยะ) 42/420/11 42/356/8 |
77 | พลี 5 อย่าง (อาทิตยสูตร) 36/94/5 36/93/1 |
78 | การให้ทานที่ไม่เกิดบุญ แต่ชาวโลกเข้าใจว่าได้บุญ (เอกุตตริกะ) 10/490/1 10/445/3 |
79 | การให้ทาน 7 อย่างที่หวังผลต่างกัน (ทานสูตร) 37/139/16 37/113/11 |
80 | ความแตกต่างของผลทาน (ทักขิณาวิภังคสูตร) 23/393/8 23/371/18 |
81 | ผู้ให้ทานย่อมเกิดบุญใน 3 วาระ (ทานสูตร) 36/628/18 36/617/14 |
82 | บุญเป็นทุกข์พิเศษ (อ.ปฏิจจสมุปปาทวิภังคนิเทศ) 77/474/7 77/422/3 |
83 | พระพุทธเจ้าตรัสให้นายทุคตรับทรัพย์แล้วให้ส่วนบุญแก่เจ้าของทรัพย์. (อ.กุณฑกปูวชาดก) 56/419/20 56/310/14 |
84 | พระราชา คหบดีทั้งหลาย ต่างส่งทรัพย์ไปให้หญิงชรา ผู้ถวายอาหารแก่พระสารี-บุตรอยู่ที่บ้านของตน (อ.กุณฑกกุจฉิสินธวชาดก) 58/31/15 58/25/9 |
85 | โจรไม่สามารถลักเอาบุญของผู้ใดไปได้ (ชราสูตร) 24/270/13 24/197/13 |
86 | บุญที่ให้ผลในชาติปัจจุบัน (อ.จิตตุปปาทกัณฑ์) 75/436/5 75/410/7 |
87 | บุญที่เกิดขึ้นได้ทุกเวลา (วนโรปสูตร) 24/255/9 24/185/17 |
88 | บุญที่เกิดขึ้นทุกย่างก้าว (เรื่องนางปติปูชิกา) 41/44/7 41/35/19 |
89 | ทำบุญให้เทวดาบริเวณที่อาศัยอยู่ (เภสัชชขันธกะ) 7/118/15 7/113/2 |
90 | ให้ส่วนบุญแก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วทันที (อ.ติโรกุฑฑสูตร) 39/284/8 39/275/25 |
91 | พึงอุทิศบุญให้แก่สัตว์ทั้งปวง (เรื่องท้าวสักกเทวราช) 43/328/6 43/251/9 |
92 | เมื่อให้ส่วนบุญ...ได้บุญมากขึ้น (อ.สูตรที่ ๕) 32/310/4 32/260/25 |
93 | ให้อาหารปลาแล้วอุทิศบุญ (มัจฉทานชาดก) 58/304/7 58/224/6 |
94 | ทิ้งของโสโครกก็ได้บุญ (ชัปปสูตร) 34/228/16 34/236/23 |
95 | ทำบุญแล้ววิมานในสวรรค์ปรากฏทันที (นายนันทิยะ) 42/420/11 42/356/8 |
96 | อภิมหาทาน (1) (อ.กูฏทันตสูตร) 12/88/19 12/82/19 |
97 | อภิมหาทาน (2) (ปุญญาภิสันทสูตร) 37/492/13 37/408/20 |
98 | บุญที่เกิดจากความเลื่อมใสใน พุทธ ธรรม สงฆ์ (เวลามสูตร) 37/778/11 37/639/24 |
99 | ฆ่าสัตว์ทำบุญ...ได้บาป (ชีวกสูตร) 20/103/6 20/98/21 |
100 | ผู้ให้ทาน/แล้วเกิดเสียใจจะได้ผลเช่นไร(เรื่องเศรษฐีผู้ไม่มีบุตร) (ตัณหาวรรควรรณนา) 43/331/10 43/254/3 |
101 | ทานของไม่ดี แต่มีผลมาก (เวลามสูตร) 37/777/7 37/638/11 |
102 | ทานของโดยไม่เคารพมีผลน้อย (ปายาสิราชัญญสูตร) 14/400/4 14/385/21 |
103 | ความแตกต่างของผลทาน (ทักขิณาวิภังคสูตร) 23/394/1 23/371/18 |
104 | จิตขณะให้ทานมีผลต่างกัน (ทานสูตร) 37/139/17 37/113/11 |
105 | ผลแห่งทานที่พึงเห็นเอง (สีหสูตร) 36/78/7 36/78/9 |
106 | บริบูรณ์แห่งทาน (อ.มาฆสูตรที่ ๕) 47/467/20 47/378/20 |
107 | วิธีฝากทรัพย์ที่ปลอดภัย (นิธิกัณฑ์) 39/302/16 39/293/3 |
108 | ไม่จำเป็นต้องถวายใส่มือพระ (อ.มหาปทานสูตร) 13/159/22 13/156/5 |
109 | ไม่จำเป็นต้องถวายใส่มือพระ (ปทุมปุปผิยเถราปทาน) 71/325/2 71/303/2 |
110 | ไม่จำเป็นต้องถวายใส่มือพระ (อ.ชัมพุคามิกปุตตเถรคาถา) 50/183/11 50/180/4 |
111 | ไม่จำเป็นต้องถวายของใส่มือพระ (อ.สุมนสูตร) 36/64/9 36/64/19 |
112 | มฆมาณพสงเคราะห์สังคม(ได้เป็นท้าวสักกะ) (อ.สักกปัญหสูตร) 14/162/15 14/159/6 |
113 | ค้าขายแล้วขาดทุน (วณิชชสูตร) 35/238/16 35/244/12 |
114 | ปีศาจที่หากินของโสโครก (อ.ปุนัพพสุสูตร) 25/407/19 25/368/12 |
115 | ธรรมทานยอดเยี่ยมที่สุด (เรื่องท้าวสักกเทวราช) 43/325/13 43/249/7 |
116 | ยินดีในทานผู้อื่น ได้บุญมาก (อ.วิหารวิมาน) 48/360/10 48/333/3 |
117 | ยินดีในบุญผู้อื่น ช่วยให้รอดตาย (อ.สีลานิสังสชาดก) 57/221/14 57/165/26 |
118 | ยินดีในบุญผู้อื่น ช่วยให้พ้นภัย (อ.สังขชาดก) 59/813/6 59/560/3 |
119 | ยินดีในบาปผู้อื่น ได้บาปมาก (อ.พุทธาปทาน) 70/231/9 70/205/20 |
120 | ให้ทานโดยไม่เอื้อเฟื้อ / จะได้ผลอย่างที่ให้ (อ.อุจฉุเปตวัตถุ) 49/540/14 49/417/1 |
121 | เศรษฐีขี้เหนียวตายแล้วเกิดเป็นหมา (อ.สุภสูตร) 12/223/14 12/210/18 |
122 | เศรษฐีขี้เหนียวตายแล้วเกิดเป็นคนพิการ (อานนทเศรษฐี) 41/183/15 41/152/12 |
123 | เศรษฐีขี้เหนียวกลับใจ (โกสิยเศรษฐี) 41/54/17 41/44/18 |
124 | ตระหนี่ธรรมต้องตกนรก (อธิบายสัญโญชนโคจฉกะ) 76/431/7 76/395/5 |
125 | หวงความรู้มีผลให้เป็นใบ้ (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/275/14 65/224/3 |
126 | อานิสงส์ของศีล (อ.ปุตตสูตร) 45/456/9 45/440/23 |
127 | อานิสงส์ของการเรียนพระวินัย (อ.วิเลขนสิกขาบทที่ ๒) 4/747/15 4/744/13 |
128 | อานิสงส์ของผู้มีศีลเป็นที่รัก (เจตนาสูตร) 38/506/18 38/507/16 |
129 | ความแตกต่างในโทษของการประพฤติผิด ศีล 5 (อ.สิกขาปทวิภังค์) 78/508/1 78/447/19 |
130 | ว่าด้วยการขาด และการสมาทาน ศีล 5 (อ.สิกขาปทวิภังค์) 78/512/6 78/451/19 |
131 | วิธีการรักษาศีล 8 (อุโบสถสูตร) 34/382/10 34/388/13 |
132 | สิกขาบทของสามเณรมี 10 ประการ (มหาขันธกะ) 6/284/8 6/173/18 |
133 | องค์ประกอบที่ทำให้ละเมิดศีล (พรรณนาสิกขาบท ๑๐) 39/36/4 39/35/15 |
134 | ฆ่าสัตว์มาตลอด 50 ปี ตอนใกล้ตายตั้งใจจะสมาทานศีล แต่ได้เพียงสรณะก็สิ้นใจไปเกิดในสวรรค์ชั้นจาตุม (อ.นิทานสูตร) 34/128/9 34/132/3 |
135 | รักษาศีลไม่ถึงครึ่งวัน...ตายไปสวรรค์ (อ.ฉัตตมาณวกวิมาน) 48/451/7 48/416/18 |
136 | พึ่งศีลดีกว่าพึ่งเทวดา (อ.สัพภิสูตร) 24/154/3 24/113/14 |
137 | มีทุกข์เพราะไม่มีศีล (ราชสูตร) 36/377/16 36/372/11 |
138 | กลิ่นศีล (เรื่องปัญหาของพระอานนทเถระ) 41/118/8 41/97/3 |
139 | ผู้มีศีลพึงหวังได้ (อากังเขยยสูตร) 17/398/12 17/319/1 |
140 | ประทุษร้ายผู้มีศีลย่อมวิบัติ (อ.ภรุราชชาดก) 57/334/8 57/254/14 |
141 | ผลอย่างเบาที่สุดของมนุษย์ผู้ผิด ศีล 5 (สัพพลหุสสูตร) 37/495/4 37/411/1 |
142 | สาเหตุที่ทำให้นรกแน่น (อ.มหาโควินทสูตร) 14/41/17 14/39/22 |
143 | การรักษาตน (1) (ปิยสูตร) 24/426/9 24/337/3 |
144 | การรักษาตน (2) (อัตตรักขิตสูตร) 24/429/16 24/339/11 |
145 | ต้อนรับภิกษุทรงศีลแล้วเกิดบุญ (กุลสูตร) 36/440/3 36/432/11 |
146 | เหตุที่ถูกใส่ความและถูกโกง (สัพพลหุสสูตร) 37/495/17 37/411/15 |
147 | ปรารถนาให้ลูกดีมาเกิด (อ.กุสชาดก) 62/211/1 62/194/14 |
148 | พรรณนาสิกขาบท 10 และ สิกขาบท 5 (พรรณนาสิกขาบทที่ ๑๐) 39/22/1 39/22/1 |
149 | กุลบุตรจะเรียนกรรมฐาน ต้องบำเพ็ญศีลให้บริสุทธิ์ก่อน (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/350/4 2/333/9 |
150 | ตัดกังวลก่อนเรียนกรรมฐาน (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/351/1 2/334/3 |
151 | ศีลไม่บริสุทธิ์กรรมฐานย่อมไม่เจริญ (ปฐมปาราชิกวรรณนา) 1/763/6 1/737/9 |
152 | ภิกษุควรทำศีลให้บริสุทธิ์และทำความเห็นให้ตรงก่อน จึงเริ่มทำกรรมฐาน (ภิกขุสูตร) 30/379/19 30/367/5 |
153 | ศีลไม่บริสุทธิ์ไปทำกรรมฐาน...มีสิทธิ์เป็นบ้า (อ.พรหมชาลสูตร) 11/104/13 11/90/6 |
154 | ผู้ทำพอประมาณใน ศีล สมาธิ ปัญญา ล่วงสิกขาบทเล็กน้อยบ้าง แสดงอาบัติบ้าง...ก็อาจบรรลุธรรมได้ (ทุติยเสขสูตร) 34/454/14 34/466/7 |
155 | ผู้มีศีล พึงหวังการหลุดพ้นได้ (อากังเขยยสูตร) 17/398/11 17/319/3 |
156 | ข้อปฏิบัติเพื่อถึงความสิ้นอาสวะ (สัพพาสวสังวรสูตร) 17/138/3 17/113/1 |
157 | การทำกรรมฐาน หากภิกษุทำถูกต้อง สายญาติตั้งแต่ลูกศิษย์ จนถึงพรหมโลกย่อมทำถูกต้องด้วย (อ.ญาตกสูตร) 34/24/12 34/24/19 |
158 | ไม่ควรมีข้ออ้างในการทำความเพียร (อารัพภวัตถุสูตร) 37/665/2 37/544/6 |
159 | พระพุทธองค์ทรงให้กรรมฐานแก่ผู้มีจริตต่างๆ (อ.ทสุตตรสูตร) 16/456/18 16/442/20 |
160 | กรรมฐานที่เหมาะกับบุคคลผู้มีจริตต่างๆ (อ.มหาสมัยสูตร) 14/100/7 14/96/1 |
161 | อาสวะที่ละได้ด้วยอำนาจ อุเทศ เป็นต้น (อ.สัพพาสวสังวรสูตร) 17/160/3 17/131/22 |
162 | ผู้ไม่ได้ทำบุญญาธิการไว้ ย่อมเหมาะในการถึงสรณคมน์เท่านั้น. (อ.พหุการสูตร) 34/80/9 34/81/21 |
163 | มูลเหตุอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม (มหาขันธกะ) 6/166/1 6/96/2 |
164 | องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด (มหาขันธกะ) 6/198/1 6/124/1 |
165 | องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด (มหาขันธกะ) 6/198/1 6/124/1 |
166 | อันตรายิกธรรมกถา โรค ๕ ชนิด (มหาขันธกะ) 6/239/1 6/146/1 |
167 | บุคคลไม่ควรให้อุปสมบท ๒๐ จำพวก (มหาขันธกะ) 6/335/1 6/185/1 |
168 | บุคคลไม่ควรให้บวช ๓๒ จำพวก (มหาขันธกะ) 6/338/17 6/187/20 |
169 | พระพุทธเจ้าตรัสการบวช ขั้นแรกให้ปลงผมและหนวด (มหาขันธกะ) 6/74/12 6/40/25 |
170 | เรื่องไม่ต้องโกนคิ้ว (มหาขันธกวรรณนา)วรรณนา) 6/346/8 6/330/3 |
171 | - บวชเป็นบรรพชิต...ไม่เห็นกล่าวว่าให้โกนคิ้ว (สามัญญผลสูตร) 11/307/3 11/260/21 |
172 | พระโพธิสัตว์ตอนออกบวช ก็ไม่ได้โกนคิ้ว (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/545/9 66/509/23 |
173 | พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีต ก็ไม่โกนคิ้ว (มหาปทานสูตร) 13/32/22 13/30/13 |
174 | วิธีการให้นิสัย (มหาขันธกะ) 6/351/1 6/189/8 |
175 | ภิกษุอยู่วัดป่าไม่ต้องถือนิสัย (มหาขันธกะ) 6/353/1 6/191/9 |
176 | นับอายุ ๒๐ ปี ทั้งอยู่ในครรภ์ (มหาขันธกะ) 6/354/13 6/193/1 |
177 | พระพุทธานุญาตให้บอกอกรณียกิจ (มหาขันธกะ) 6/362/11 6/200/15 |
178 | เรื่องภิกษุผู้ถูกสงฆ์ยกเสีย เป็นต้น (มหาขันธกะ) 6/364/6 6/202/12 |
179 | พระกรรมวาจาจารย์สวดประกาศรูปเดียวก็ได้ (อ.มหาขันธกะ) 6/374/6 6/336/7 |
180 | ทรงพุทธานุญาตพิเศษให้อุปสมบทด้วยคณะสงฆ์ มีวินัยธรเป็นที่ ๕ ได้ทั่วปัจจันต-ชนบท (จัมเปยยขันธกะ) 7/37/16 7/35/19 |
181 | สงฆ์ ๕ ประเภทผู้พร้อมเพรียงกัน จึงจะทำกรรมโดยธรรมได้ (จัมเปยยขันธกะ) 7/389/9 7/372/19 |
182 | กรรมที่สงฆ์ปัญจวรรคทำ แล้วกรรมนั้นใช้ไม่ได้ (จัมเปยยขันธกะ) 7/390/20 7/374/7 |
183 | การขับออก ๒ อย่างที่เป็นธรรมและไม่เป็นธรรม (จัมเปยยขันธกะ) 7/395/16 7/378/3 |
184 | การรับเข้าหมู่ ๒ อย่างที่เป็นธรรมและไม่เป็นธรรม (จัมเปยยขันธกะ) 7/396/12 7/378/20 |
185 | เรื่องพระราหุลกุมารทรงผนวชเป็นสามเณร (มหาขันธกะ) 6/280/2 6/170/1 |
186 | เรื่องทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาดมีสามเณรมากรูปได้ (มหาขันธกะ) 6/283/18 6/173/7 |
187 | สิกขาบทของสามเณร (มหาขันธกะ) 6/284/8 6/173/18 |
188 | เรื่องลงทัณฑกรรมแก่สามเณร (มหาขันธกะ) 6/299/1 6/174/18 |
189 | เรื่องกักกันสามเณรต้องขออนุญาตก่อน (มหาขันธกะ) 6/300/16 6/176/13 |
190 | องค์แห่งนาสนะ ๑๐ ของสามเณร (มหาขันธกะ) 6/301/12 6/177/8 |
191 | เรื่องการถือนิสัย (มหาขันธกะ) 6/268/7 6/159/23 |
192 | เมื่ออาจารย์บอกให้ศึกษาสิกขาบท ต้องศึกษา ถ้าไม่ศึกษาต้องอาบัติปาจิตตีย์ . (สหธรรมิกวรรค สิกขาบทที่๑) 4/740/10 4/737/10 |
193 | บวชในสถานที่อันไม่สมควร ก็เป็นผู้เหินห่างจากคุณธรรม (อ.ปฐมทารุขันธสูตร) 28/416/16 28/404/10 |
194 | ถ้าอุปัชฌาย์, อาจารย์จะพาให้เสื่อม รู้ตอนไหนไปตอนนั้น (เสวนาสูตร) 37/725/18 37/596/4 |
195 | อุปสมบทถูกต้องหรือไม่: วัตถุวิบัติ
บริษัทวิบัติ (ปริวารปัญจวรรค) อุปสมบทถูกต้องหรือไม่: วัตถุวิบัติ
บริษัทวิบัติ (ปริวารปัญจวรรค) 10 / 964 10/964/1 10/880/5 |
196 | ภิกษุบอกคืนสิกขาโดยกล่าวเล่น สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน (ปฐมปาราชิกวรรณนา) 1/424/21 1/397/7 |
197 | ภิกษุไม่ประสงค์จะประกาศแต่เปล่งเสียงให้ได้ยิน สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน . (ปฐมปาราชิกวรรณนา) 1/425/2 1/397/20 |
198 | การบอกลาสิกขาย่อมถึงที่สุดก็ต่อเมื่อภิกษุผู้ลั่นวาจาอันสัมปยุตด้วยจิตต่อมนุษย์(ผู้เข้าใจความหมาย) เท่านั้น (ปฐมปาราชิกวรรณนา) 1/788/18 1/760/14 |
199 | อาการของภิกษุผู้อยากจะสึก (ปฐมปาราชิกกัณฑ์) 1/402/2 1/377/1 |
200 | โจรชิงผ้า (อ.จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๖) 3/808/17 3/762/10 |
201 | ภิกษุผู้ถูกโจรชิงจีวรจะนุ่งผ้าอย่างอื่นปิดกายมา ก็ไม่เป็นอาบัติ. (อ.จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๖) 3/809/14 3/763/5 |
202 | ภิกษุไม่ได้ต้องปาราชิก แต่เข้าใจว่าต้องปาราชิก แล้วไปทำผิดวินัย ย่อมมีโทษ . (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/75/14 2/74/17 |
203 | ต้นเหตุอุปัชฌายวัตร (มหาขันธกะ) 6/136/1 6/77/15 |
204 | ทรงอนุญาตอุปัชฌาย์ (มหาขันธกะ) 6/138/4 6/79/18 |
205 | วิธีถืออุปัชฌาย์ (มหาขันธกะ) 6/138/17 6/80/9 |
206 | อุปัชฌายวัตร (มหาขันธกะ) 6/139/7 6/81/1 |
207 | สัทธิวิหาริกวัตร (มหาขันธกะ) 6/154/1 6/86/1 |
208 | การประณามและการให้ขอขมา ต่ออุปัชฌาย์ (มหาขันธกะ) 6/160/1 6/90/19 |
209 | องค์แห่งการประณาม (มหาขันธกะ) 6/162/5 6/93/7 |
210 | พระอุปเสนวังคันตบุตร อุปสมบทสัทธิวิหาริก (มหาขันธกะ) 6/174/16 6/102/8 |
211 | ภิกษุมีพรรษา ๑๐ แต่เป็นผู้เขลาไม่ควรให้อุปสมบท (มหาขันธกะ) 6/178/11 6/105/3 |
212 | องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด (มหาขันธกะ) 6/198/1 6/124/1 |
213 | องค์ ๖ แห่งภิกษุผู้ให้อุปสมบท ๑๖ หมวด (มหาขันธกะ) 6/206/12 6/132/7 |
214 | ไม่ควรถือตามอุปัชฌาย์ทุกอย่าง (สัตตสติกขันธกะ) 9/543/1 9/531/5 |
215 | อุปัชฌาย์โง่เขลา ถ้าลาสามครั้งไม่อนุญาต ครั้งที่สี่ไปได้โดยไม่ต้องอาบัติ. (อ.มหาขันธกะ) 6/153/10 6/259/7 |
216 | มูลเหตุที่ทรงอนุญาตอาจารย์ (มหาขันธกะ) 6/178/15 6/105/17 |
217 | มูลเหตุอันเตวาสิกวัตร (วัตตขันธกะ) 9/375/5 9/369/3 |
218 | วิธีถือนิสัยอาจารย์ (มหาขันธกะ) 6/180/5 6/107/1 |
219 | ว่าด้วยการประณามและวิธีการประณาม ของอาจารย์ (มหาขันธกะ) 6/191/10 6/117/6 |
220 | องค์แห่งการประณาม ๕ (มหาขันธกะ) 6/193/3 6/119/8 |
221 | การให้ถือนิสัย (มหาขันธกะ) 6/195/15 6/122/1 |
222 | นิสัยระงับจากอุปัชฌาย์และอาจารย์ (มหาขันธกะ) 6/197/1 6/123/3 |
223 | ธรรมของเจ้าอาวาสที่ควรยกย่องและที่ไม่ควรยกย่อง (อาวาสิกสูตร) 36/485/3 36/478/4 |
224 | ธรรมของเจ้าอาวาสที่ควรสรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรย์ (ปิยสูตร) 36/486/8 36/479/10 |
225 | เจ้าอาวาสที่ทำให้อารามงดงาม (โสภณสูตร) 36/487/11 36/480/12 |
226 | เจ้าอาวาสผู้มีอุปการะมากแก่อาวาส (พหุปการสูตร) 36/488/8 36/481/10 |
227 | การอนุเคราะห์ของเจ้าอาวาส (อนุกัมปกสูตร) 36/489/7 36/482/12 |
228 | ธรรมที่ทำให้เจ้าอาวาสเลวและดี (ยถาภตอวัณณสูตร) 36/490/9 36/483/16 |
229 | ธรรมที่ทำให้เจ้าอาวาสตกต่ำและไม่ตกต่ำ (ปฐมยถาภตมัจเฉรสูตร) 36/492/14 36/486/6 |
230 | ความหมายของคำว่า สังฆปริณายก (อ.มหาปรินิพพานสูตร) 13/351/8 13/342/24 |
231 | ไม่ชื่อว่าเถระ เพราะเหตุสักว่านั่งบนอาสนะพระเถระ (เรื่องพระลกุณฏกภัททิยเถระ) 43/76/16 43/59/17 |
232 | ภิกษุมากพรรษา แต่โง่เขลา จะถือนิสัย กับ ผู้ฉลาดมีพรรษาอ่อนกว่าก็ได้. (อ.มหาขันธกะ) 6/279/7 6/291/10 |
233 | บุคคลที่ภิกษุไม่ควรไหว้อีก 25 จำพวก (อุปาลิปัญจกะ) 10/857/18 10/784/10 |
234 | บุคคลที่ภิกษุควรไหว้อีก 5 จำพวก (อุปาลิปัญจกะ) 10/860/1 10/786/2 |
235 | ภิกษุผู้เห็นแก่ลาภสักการะ ชาวโลกย่อมติเตียน ถึงอุปัชฌาย์ และ อาจารย์ด้วย . (อ.ธรรมทายาทสูตร) 17/221/1 17/182/11 |
236 | เปรตกินขี้เปรต (คูถขาทิกเปตวัตถุที่ ๑) 49/559/2 49/430/14 |
237 | ทำบุญกับพระทุศีลโยมไปนรก (อ.วสภเถรคาถา) 51/47/6 51/46/16 |
238 | ห้ามคบหาภิกษุทุศีล (มหาขันธกะ) 6/351/6 6/149/10 |
239 | ภิกษุประกอบมิจฉาชีพลวงโลก จัดเป็นมิจฉาชีพขั้นสุดยอด (จตุตถปาราชิกวรรณนา) 2/616/16 2/601/3 |
240 | กินเหล็กร้อนๆดีกว่ากินข้าวโยม (อัคคิขันธูปมสูตร) 37/264/14 37/217/13 |
241 | พระธรรมิกะถูกโยมขับไล่ถึง ๗ วัด (ธรรมิกสูตร) 36/695/14 36/679/3 |
242 | ชาวเมืองโกสัมพีลงโทษพระ (โกสัมพิขันธกะ) 7/480/8 7/457/19 |
243 | พระเจ้าปเสนทิโกศล จะไม่ให้ภิกษุชาวโกสัมพีเข้าเมือง (เรื่องภิกษุชาวเมืองโกสัมพี) 40/90/19 40/68/1 |
244 | พระที่ทำให้เทวดา และมนุษย์เดือดร้อน (เถรสูตร) 36/210/3 36/208/3 |
245 | ไม่ควรคบภิกษุทุศีล ถ้าภิกษุนั้นไม่ยอมแก้ไข (อ.โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๘) 3/954/2 3/900/5 |
246 | ผู้คบหา ทำตาม ภิกษุทุศีล ย่อมประสบทุกข์ตลอดกาลนาน (นวสูตร) 34/489/8 34/507/10 |
247 | ภิกษุสันดานกา 10 ประการ (กากสูตร) 38/250/9 38/251/4 |
248 | แสดงอาบัติไม่ผ่าน หากไม่เลิกทำผิด (เอกุตตริกวัณณนา) 10/521/1 10/473/23 |
249 | พระทุศีลถึงแม้จะยืนยันว่าเป็นพระ ก็ไม่เป็นความจริง (ปฐมปาราชิกวรรณนา) 1/768/22 1/742/3 |
250 | ควรกลัวอาบัติทุพภาษิต เหมือนอาบัติปาราชิก (อ.เมฆิยสูตร) 44/396/5 44/362/9 |
251 | ภิกษุไม่ควรขอจนน่าเกลียด (สังฆาทิเสส สิกขาบทที่ ๖) 3/354/17 3/339/3 |
252 | บุคคลผู้ทุศีล ย่อมได้รับความร้อนใจ (อุปนิสาสูตร) 38/8/18 38/9/4 |
253 | บุคคลผู้มีศีลสมบูรณ์ ไม่ต้องทำเจตนาว่า ขอความไม่เดือดร้อนจงเกิดขึ้นแก่เรา . (เจตนาสูตร) 38/4/13 38/5/4 |
254 | ภิกษุผู้อยู่ป่า แต่มีความปรารถนาลามกย่อมต้อง อาบัติทุกกฏ (จตุตถปาราชิกวรรณนา) 2/643/6 2/625/7 |
255 | ไม่พึง ฟัง ตอบ ถาม แก่ภิกษุทุศีล และไม่พึงไปตามที่นัดหมาย (เอกุตตริกวัณณา) 10/539/9 10/490/7 |
256 | ภิกษุผู้มีธรรมเป็นเกาะ เป็นสรณะ ใคร่ในการศึกษาจะเป็นผู้เจริญสุดยอด ในกาลข้างหน้า (มหาปรินิพพานสูตร) 13/275/10 13/265/10 |
257 | ผู้เรียนแล้วไม่ทำตามพุทธพจน์ ชื่อว่า ไม่รู้เนื้อความภาษิตของพระพุทธเจ้า . (อ.เสวิตัพพาเสวิตัพพสูตร) 22/288/15 22/269/4 |
258 | ผู้เรียนธรรมวินัย มีหลักการบ่นเพ้อ ว่าเป็นอานิสงส์ ย่อมเป็นไปเพื่อทุกข์ แก่โมฆะบุรุษเหล่านั้นสิ้นกาลนาน (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/51/18 1/49/17 |
259 | พระพุทธองค์ไม่สรรเสริญ ภิกษุผู้ไม่ศึกษา และผู้ไม่ส่งเสริมการศึกษาพระธรรมวินัย . (ปังกธาสูตร) 34/470/17 34/484/26 |
260 | ภิกษุผู้มากด้วยความปราโมทย์ เลื่อมใสในพุทธศาสนา จะพึงบรรลุบทอันสงบ . (อ.ประวัติพระวักกลิเถระ) 32/391/16 32/329/4 |
261 | กีดกันอาวาสแก่ภิกษุทุศีล ไม่ชื่อว่า ตระหนี่อาวาส (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/273/11 65/222/7 |
262 | ปาริสุทธิศีล 4 (อ.อากังเขยยสูตร) 17/410/5 17/329/10 |
263 | ผู้หวงความรู้ มีผลทำให้เป็นใบ้ (อ.คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/275/16 65/224/4 |
264 | ผู้ไม่ควรเป็นพยาน ในคุณวิเศษ (สักขิสูตร) 36/793/1 36/771/1 |
265 | บรรพชิตผู้มีศีลเป็นบ่อเกิดของบุญมาก 3 สถานะ (ศีลสูตร) 34/203/3 34/208/6 |
266 | ภิกษุผู้ต้องอาบัติย่อมปรารถนาว่า ขอภิกษุอื่นจงอย่ารู้เรา (อนังคณสูตร) 17/344/7 17/279/2 |
267 | ภิกษุแสดงความไม่เอื้อเฟื้อเมื่ออนุปสัมบันกล่าวตักเตือนในวินัยต้องอาบัติทุกกฏ . (สุราปานวรรค สิกขาบทที่ ๔) 4/648/1 4/649/19 |
268 | ภิกษุเล่าเรียนพุทธพจน์ เพราะเหตุแห่งลาภ เปรียบเหมือนงูพิษ (อ.อลคัททูปมสูตร) 18/305/16 18/289/2 |
269 | โรคของบรรพชิต 4 อย่าง ...ภิกษุกล่าวธรรมเพื่อให้เขานับถือ (โรคสูตร) 35/373/7 35/390/12 |
270 | ภิกษุผู้ขอมากเกินไป ย่อมไม่เป็นที่เคารพ สรรเสริญ ในสกุล (กุลุปกสูตร) 36/250/8 36/248/8 |
271 | พระธรรมกถึกแสดงธรรม เพื่อหวังลาภสักการะ ธรรมเทศนานั้นชื่อว่า ไม่บริสุทธิ์ . (อ.เวนาคสูตร) 34/313/5 34/318/8 |
272 | ทานให้พระที่คิดไม่ดี ย่อมมีผลน้อย (กุสินารสูตร) 34/545/18 34/568/8 |
273 | พระพุทธองค์สั่งให้กำจัด สมณะหยากเยื่อ ขับไล่สมณะขยะ (อ.ทุติยทสพลสูตร) 26/115/20 26/107/13 |
274 | ภิกษุทุศีลไม่ชื่อว่าเป็นบุตรของพระตถาคต (อ.เสลสูตร) 21/300/7 21/284/19 |
275 | ผู้ไม่เห็นโทษโดยความเป็นโทษ / ไม่ยอมให้อภัย...ชื่อว่าคนพาล (พาลวรรรคที่ ๓) 33/345/4 33/305/4 |
276 | ความเป็นผู้ทุศีลทุกอย่าง ชื่อว่า ศีลวิบัติ (อ.สังคีติสูตร) 16/285/11 16/273/6 |
277 | ภิกษุไม่รักษาศีลอันเป็นประธาน เปรียบเหมือนคนหัวขาด ไม่สามารถจะรักษามือและเท้าไว้ได้ (อ.ปาฏิโมกขสูตร) 30/491/19 30/474/11 |
278 | ภิกษุชั่วพึ่งพิงผู้มีอำนาจ เป็นผู้ประกอบด้วยโทษ ย่อมมีบาปมาก (มหาโจรสูตร) 34/211/1 34/216/16 |
279 | ภิกษุติดลาภสักการะ เหมือนแมลงวันกินขี้เต็มท้อง (เอฬกสูตร) 26/645/14 26/594/8 |
280 | ภิกษุผู้ปกปิดโทษ เปรียบเหมือนหลุมขี้ที่หมักหมมอยู่นานปี ย่อมล้างออกได้ยาก . (อ.กปิลสูตร) 47/220/4 47/177/13 |
281 | ภิกษุผู้ทุศีล มีความประพฤติไม่สะอาด ย่อมเป็นเสี้ยนหนามของชาวบ้าน. (ฉัปปาณสูตร) 28/497/8 28/471/14 |
282 | การคบภิกษุทุศีล เปรียบเหมือนจับงูที่เปื้อนขี้ แม้ไม่เอาเยี่ยงอย่างก็ยังได้ชื่อว่าเป็นผู้มีมิตรชั่ว (ชิคุจฉิตัพพสูตร) 34/87/19 34/90/8 |
283 | ชนเหล่าใดคบหาสมาคม/ทำตาม ภิกษุทุศีล ข้อนั้นย่อมเป็นไปเพื่อทุกข์แก่ชนเหล่านั้นตลอดกาลนาน (นวสูตร) 34/489/5 34/507/3 |
284 | สมัยที่ภิกษุเลวทรามมีกำลัง ภิกษุผู้มีศีลย่อมเป็นผู้นิ่งเงียบในท่ามกลางสงฆ์หรือไปอยู่ชนบท ข้อนี้ย่อมเป็นไปเพื่อทุกข์ แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย . (สมจิตตวรรค สูตรที่ ๘) 33/395/3 33/353/9 |
285 | ภิกษุทุศีลกินก้อนเหล็กร้อนๆ ยังดีกว่ากินข้าวชาวบ้าน (ชีวิตสูตร) 45/573/14 45/552/22 |
286 | พระพุทธองค์ตรัสว่า ในอนาคตกาล ภิกษุชั่วจะแสดงธรรมแลกเงิน (อ.มหาสุบินชาดก) 56/230/5 56/171/10 |
287 | ภิกษุผู้ลามกปล่อยจิตให้สนุกสนาน แต่นั้นเมื่อตายไปเธอย่อมไหม้อยู่ในนรกตลอดพุทธันดรหนึ่ง (อ.ภิกขุสูตร) 26/722/7 26/678/16 |
288 | ภิกษุบริโภคอาหารที่เกิดขึ้นโดยไม่ชอบธรรม จะต้องไปเกิดในอบาย หลายแสน-ชาติ (อ.มหาปรินิพพานสูตร) 13/451/17 13/447/10 |
289 | ภิกษุทุศีล ชื่อว่า ผู้ไร้ความหวัง ไม่อาจพ้นทุกข์ได้ (ภิกขุสูตร) 34/30/1 34/30/4 |
290 | การรับเงิน-ทอง เป็นความเศร้าหมองของสมณะ (อุปกิเลสสูตร) 35/175/3 35/178/21 |
291 | ภิกษุชั่วอยู่ป่าเทวดาก็รังเกียจ (อ.จุลลหัตถิปโทปมสูตร) 18/511/10 18/498/9 |
292 | ภิกษุพาล...ย่อมพาโยมลงนรก (อ.มงคลสูตร) 39/173/13 39/169/8 |
293 | โทษของภิกษุ ผู้กล่าวธรรมด้วยเสียงขับที่ยาว 5 ประการ (คีตสูตร) 36/458/3 36/451/4 |
294 | พระที่ทำให้เทวดาและมนุษย์เดือดร้อน (เถรสูตร) 36/210/3 36/208/3 |
295 | ธุระในศาสนามี 2 คือคันถธุระและวิปัสสนาธุระ (เรื่องพระจักขุปาลเถระ) 40/15/2 40/11/16 |
296 | เห็นพระพุทธพจน์ไม่สำคัญ (อาณีสูตร) 26/738/1 26/694/14 |
297 | เรื่องคัมภีร์โลกายตะ (ขุททกวัตถุขันธกะ) 9/65/10 9/69/9 |
298 | เรื่องเรียนติรัจฉานวิชา (ขุททกวัตถุขันธกะ) 9/66/6 9/70/5 |
299 | ความหมายของติรัจฉานวิชา (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทสที่ ๑๔) 66/411/12 66/382/3 |
300 | การกล่าวติรัจฉานกถาในมัชฌิมศีล (สามัญญผลสูตร) 11/314/3 11/267/5 |
301 | อะไรบ้างเป็นติรัจฉานวิชา (สามัญญผลสูตร) 11/315/13 11/268/11 |
302 | เรื่องติรัจฉานกถาพระพุทธเจ้าติเตียน (โอวาทวรรค สิกขาบทที่ ๑) 4/357/18 4/371/15 |
303 | ติรัจฉานกถา... (ปฐมวัตถุกถาสูตร) 38/216/1 38/217/4 |
304 | การประพฤติอนาจาร (สังฆาทิเสส สิกขาบทที่ ๑๓) 3/608/12 3/575/16 |
305 | ผู้ติการเรียนปริยัติ ชื่อว่ามหาโจร (อ.ขุททกวัตถุวิภังค์) 78/881/9 78/784/23 |
306 | การละศาสดาต้น ถือศาสดาหลัง ย่อมพ้นกิเลสไม่ได้ (สุทธัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๔) 65/502/19 65/405/24 |
307 | พระไตรปิฎกผู้มีปัญญาน้อย หยั่งรู้ได้ยาก (อ.พรหมชาลสูตร) 11/101/3 11/87/8 |
308 | พระพุทธเจ้าสรรเสริญการอยู่ป่า (ยสสูตร) 37/683/19 37/560/18 |
309 | ขายธรรมกิน (อ.มหาสุบินชาดก) 56/230/4 56/171/10 |
310 | เรียนธรรม - วินัยไว้ไม่ตายเปล่า (โสตานุคตสูตร) 35/470/6 35/490/4 |
311 | เรียนธรรม - วินัยไว้ไม่ตายเปล่า (ปังกธาสูตร) 34/471/3 34/483/3 |
312 | เล่นเลียนเสียงกลอง (อ.ตุวฏกสุตตนิทเทส) 66/425/20 66/395/26 |
313 | สวดพระปริตรเพื่อลาภย่อมไม่สำเร็จประโยชน์ (อ.อาฏานาฏิยสูตร) 16/153/17 16/137/24 |
314 | การสวดพระปริตรให้เกิดประสิทธิภาพ (อายุวัฒนกุมาร) 41/461/8 41/381/1 |
315 | บอกกรรมฐานผิดเป็นบ้าได้ (อ.ญาตกสูตร) 34/23/5 34/23/6 |
316 | ความเห็นผิดทำให้พลาดสวรรค์ - มรรค - ผล (มิจฉัตตสูตร) 38/339/14 38/340/1 |
317 | สำคัญว่าได้บรรลุ (อ.สูตรที่ ๖) 32/69/8 32/57/8 |
318 | ระเบียบของผู้อยู่ป่าช้า (จุลกาลและมหากาล) 40/96/7 40/72/15 |
319 | พระโพธิสัตว์ลองเป็นชีเปลือย (อ.โลมหังสชาดก) 56/345/5 56/256/13 |
320 | โยมประกาศความไม่เลื่อมใสกับพระ (อัปปสาทสูตร) 37/687/1 37/563/12 |
321 | ภิกษุชั่ว...ทำให้มนุษย์และเทวดาเดือดร้อน (สูตรที่ ๘) 33/395/8 33/353/14 |
322 | ให้ทานแก่นักบวชผู้ไม่มีศีล....ไม่ได้บุญ (จูฬเสฏฐีเปตวัตถุ) 49/223/12 49/174/5 |
323 | ที่รองรับผู้ทุศีล - มีศีล (พาลวรรคสูตรที่ ๗) 33/351/8 33/312/13 |
324 | ทำบุญกับพระทุศีล...ไม่ได้บุญ (อ.ทักขิณาวิภังคสูตร) 23/409/21 23/387/2 |
325 | ภิกษุชั่ว...พาโยมลงนรก (อ.มงคลสูตร) 39/173/13 39/169/8 |
326 | ภิกษุชั่ว...ไม่ต้องเกรงใจ (อ.ทักขิณาวิภังคสูตร) 23/408/10 23/385/9 |
327 | วิธีที่โยมลงโทษพระชั่ว (โกสัมพิขันธกะ) 7/480/7 7/457/19 |
328 | คบภิกษุพาล...ไปนรก (อ.เภทสูตร) 45/128/22 45/125/7 |
329 | ภิกษุแสวงหาเงิน - ทองมิใช่เชื้อสายพระศากยะ (สัตตสติกขันธกะ) 9/536/1 9/524/19 |
330 | จงให้ศีล..แก่ผู้ที่พอใจจะรักษา (อ.การันทิยชาดก) 58/751/12 58/549/20 |
331 | วัฏฏะวนวุ่นวาย (สัตตสูตร) 27/428/12 27/411/13 |
332 | เห็นพระพุทธพจน์ไม่สำคัญ (อาณีสูตร) 26/738/1 26/694/9 |
333 | เปรตกินขี้เปรต (คูถขาทิกเปตวัตถุ) 49/559/2 49/430/12 |
334 | ผู้ที่มีบุญคุณกับพระมาก (อ.พหุการสูตร) 45/679/1 45/653/12 |
335 | พระอรหันต์เล็งญาณ (อ.มหาสมัยสูตร) 14/104/7 14/99/23 |
336 | พระอรหันต์อดอยาก (อ.โลสกชาดก) 56/7/3 56/6/6 |
337 | พระอรหันต์ที่ศึกษาน้อยทำให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง...บาปมาก (อ.สังคีติสูตร) 16/302/5 16/288/4 |
338 | โยมที่ปฏิบัติผิดต่อสงฆ์...บาปมาก (อ.ปฐมอัคคิสูตร) 37/112/6 37/91/13 |
339 | แม้พระอรหันต์ก็ควรเรียนปริยัติ (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/52/15 1/50/11 |
340 | พระอรหันต์ก็ต้องอาบัติ (อ.ทุติยเสขสูตร) 34/457/1 34/469/1 |
341 | ห้ามปลุกเสกเลขยันต์ (สามัญญผลสูตร) 11/315/20 11/268/14 |
342 | พระอรหันต์ความเห็นขัดแย้งกัน (มหาจุนทสูตร) 36/672/6 36/656/14 |
343 | เมื่อเห็นพระทำผิด..โยมก็เตือนได้ (อนิยตกัณฑ์) 3/663/1 3/625/5 |
344 | รูปเหมือนพระพุทธเจ้า....ไม่มี (อรรถกถาสูตรที่ ๕) 32/214/8 32/181/18 |
345 | ตัวแทนพระศาสดา (มหาปรินิพพานสูตร) 13/320/20 13/313/6 |
346 | ที่พึ่งของเหล่าภิกษุ (มหาปรินิพพานสูตร) 13/274/18 13/264/20 |
347 | พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นของกลาง (อ.มหาปทานสูตร) 13/156/20 13/153/4 |
348 | พระธาตุเป็นของกลาง (อ.มหาปรินิพพานสูตร) 13/462/15 13/458/11 |
349 | การตอบปัญหา 4 แบบ (ปัญหาสูตร ) 35/159/3 35/161/3 |
350 | การถามปัญหา 5 แบบ (ปัญหา - ปุจฉาสูตร) 36/347/12 36/343/4 |
351 | เบียดเบียนพระศาสดา (มหาปรินิพพานสูตร) 13/264/23 13/255/12 |
352 | ห้ามคบหาภิกษุทุศีล (มหาขันธกะ) 6/351/10 6/189/8 |
353 | ไม่ควรแบ่งลาภให้ภิกษุทุศีล (อ.มหาปรินิพพานสูตร) 13/360/20 13/352/10 |
354 | สาราณียธรรม 6 ประการ (ปฐมสาราณียสูตร) 36/535/3 36/528/4 |
355 | ศีลมีที่สุดและไม่มีที่สุด (สีลมยญาณนิทเทส) 68/542/4 68/376/5 |
356 | ต้องกล่าวธรรม - วินัยด้วยภาษาที่เข้าใจ (อรณวิภังคสูตร) 23/329/19 23/308/22 |
357 | สนับสนุนผู้ทุศีล...ย่อมถึงความพินาศ (อ.สัญชีวชาดก) 56/613/6 56/455/24 |
358 | ภิกษุทุศีล...คือเสนียด...คือโจร (เวรัญชกัณฑวรรณนา) 1/361/1 1/338/14 |
359 | คบผู้ทุศีลเหมือนจับงูพิษเปื้อนขี้ (อ.ชิคุจฉิตัพพสูตร) 34/89/17 34/92/14 |
360 | ผู้ตำหนิการเรียนปริยัติคือผู้ทำลายศาสนา (อ.ปาปิจฉัตตานิทเทส) 78/881/15 78/784/23 |
361 | ความกังวล 10 อย่าง (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/351/1 2/334/3 |
362 | การเลือกที่อยู่ (วนปัตถสูตร) 18/186/11 18/177/11 |
363 | ธรรมของภิกษุใหม่ 5 อย่าง (อันธกวินทสูตร) 36/253/16 36/252/3 |
364 | อาวาสที่ควรเว้น 18 อย่าง (พรรณนาทวัตติงสาการ) 39/51/8 39/50/8 |
365 | การแสวงหาที่ไม่สมควร 21 อย่าง (อ.เมตตสูตร) 39/336/18 39/326/6 |
366 | ศีลไม่บริสุทธิ์ กรรมฐานไม่เจริญ (ปฐมปาราชิกวรรณนา) 1/763/6 1/737/9 |
367 | ความเห็นผิด ที่ขัดมรรคผล (1) (อลคัททูปมสูตร) 18/279/1 18/263/3 |
368 | ความเห็นผิด ที่ขัดมรรคผล (2) (มหาตัณหาสังขยสูตร) 19/168/4 19/172/3 |
369 | ตะปูตรึงใจ 5 ประการ (เจโตขีลสูตร) 18/170/1 18/163/3 |
370 | ปฏิปักษ์ต่อความยินดีในที่สงัด (กัณฏกสูตร) 38/230/1 38/231/14 |
371 | พรหมจรรย์เศร้าหมอง (เมถุนสูตร) 37/130/1 37/106/3 |
372 | ธรรมที่ควรเสพและไม่ควรเสพ (เสวิตัพพาเสวิตัพพสูตร) 22/247/2 22/236/12 |
373 | เรื่องบั่นทอนปัญญา (ติรัจฉานกถา) (อุทุมพริกสูตร) 15/58/15 15/57/17 |
374 | ภัย 4 อย่าง (จาตุมสูตร) 20/381/6 20/361/21 |
375 | อันตรายที่เกิดเพราะลาภสักการะ (ลาภสักการสังยุต) 26/639/4 26/587/10 |
376 | เหตุอาฆาตและการแก้ (อาฆาตวัตถุสูตร) 38/252/1 38/253/3 |
377 | คุณวิเศษไม่เกิดแก่ผู้เพ่งโทษผู้อื่น (พระอุชฌาณสัญญีเถระ) 43/60/6 43/46/16 |
378 | พระพุทธเจ้าทรงปวารณาตัว (ปวารณาสูตร) 25/325/9 25/290/16 |
379 | การศึกษาตามลำดับ (คณกโมคคัลลานสูตร) 22/143/2 22/137/4 |
380 | บัณฑิตพึงประกาศความต่างแห่งปริยัติ 3 ทั้งหมด (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/51/5 1/49/8 |
381 | อานิสงส์การเรียนวินัย (วิเลขนสิกขาบทที่ ๒) 4/747/15 4/744/20 |
382 | เจริญอย่างเดียวไม่มีเสื่อม (มหาปรินิพพานสูตร) 13/239/9 13/231/22 |
383 | วิธีตรวจสอบ ธรรม - วินัย (1) (มหาปรินิพพานสูตร) 13/293/5 13/285/14 |
384 | วิธีตรวจสอบ ธรรม - วินัย (2) (วีมังสกสูตร) 19/389/1 19/381/3 |
385 | เหตุให้เสื่อมและเจริญ (มหาโคปาลสูตร) 19/52/7 19/53/15 |
386 | แบบแผนคำสอน (สุคตสูตร) 35/380/15 35/397/18 |
387 | เรื่องตระกูลที่ควรเข้า (กุลสูตร) 37/768/2 37/631/3 |
388 | การเข้าไปสู่สกุล (กุลูปกสูตร) 26/559/5 26/516/3 |
389 | การกำจัดความชั่ว (อุรคสูตร) 46/1/7 46/1/7 |
390 | วิธีฟังธรรม (ปุณณิยสูตร) 37/671/5 37/550/5 |
391 | การคว่ำบาตร (เรื่องเจ้าวัฑฒลิจฉวี) 9/38/3 9/40/18 |
392 | ภิกษุขยะและภิกษุใสสะอาด (สูตรที่ ๕) 33/406/2 33/365/3 |
393 | สมณะขี้แกลบ (กรัณฑวสูตร) 37/326/7 37/272/7 |
394 | ผู้อยู่อย่างเศร้าหมอง (ราสิยสูตร) 29/228/10 29/213/20 |
395 | เหตุเพื่อปัญญางอกงาม (ปัญญาสูตร) 37/298/2 37/247/13 |
396 | กินเหล็กร้อนๆดีกว่ากินข้าวโยม (อัคคิขันธูปมสูตร) 37/264/18 37/214/13 |
397 | ธรรมที่เป็นเหตุให้เสื่อมและเจริญ (ปริหานสูตร) 37/660/2 37/541/3 |
398 | การสมานฉันท์ภิกษุที่แตกกัน (กินติสูตร) 22/65/2 22/62/22 |
399 | มารยาทในที่ประชุม (สิปปสูตร) 44/353/16 44/322/3 |
400 | กถาวัตถุ 10 (อ.ทุติยเสขสูตร) 45/124/2 45/121/7 |
401 | ธรรมที่พึงพิจารณาเนืองๆ (อภิณหปัจจเวกขณธรรมสูตร) 38/157/10 38/156/4 |
402 | วิธีปฏิบัติตัวของภิกษุ (วุฏฐิสูตร) 37/738/3 37/607/4 |
403 | ความสันโดษ (อ.สังคีติสูตร) 16/329/15 16/313/5 |
404 | ข้อปฏิบัติเพื่อความสิ้นอาสวะ (สัพพาสวสังวรสูตร) 17/138/7 17/113/11 |
405 | ผู้มีศีลพึงหวังได้ (อากังเขยยสูตร) 17/398-40617/398-406 17/319-326 |
406 | สัลเลขะธรรมเครื่องขัดเกลา (สัลเลขสูตร) 17/469/1 17/383/1 |
407 | วิธีแยกวิตก (เทวธาวิตักกสูตร) 18/215/8 18/205/9 |
408 | การละวิตก (วิตักกสัณฐานสูตร) 18/234/6 18/224/9 |
409 | ฉันหนเดียว (ภัททาลิสูตร) 20/321/10 20/305/8 |
410 | หมอนท่อนไม้ (กลิงครสูตร) 26/741/19 26/698/3 |
411 | ภิกษุเปรียบด้วยนักรบ (ปฐมโยธาชีวสูตร) 36/173/3 36/169/5 |
412 | วิธีแก้ความง่วง (โมคคัลลานสูตร) 37/183/15 37/150/4 |
413 | ทำความเพียรไม่มีข้ออ้าง (อารัพภวัตถุสูตร) 37/665/2 37/542/6 |
414 | ธรรมที่จักให้เจริญในธรรมวินัย (อานันทสูตร) 38/256/8 38/257/7 |
415 | อานิสงส์ของผู้มีศีล (เจตนาสูตร) 38/506/18 38/507/16 |
416 | โทษของกาม (มหาทุกขักขันธสูตร) 18/115/21 18/110/20 |
417 | กลิ่นศีล (อารัญญกสูตร) 25/484/7 25/438/3 |
418 | เหตุแห่งพระสัทธรรมเลือนหาย (สัทธรรมปฏิรูปกสูตร) 26/630/17 26/580/3 |
419 | อันตรธาน 5 อย่างในศาสนา (อ.วรรคที่ ๑๐) 32/167/1 32/143/20 |
420 | องค์แห่งมหาโจร 5 ประการ (โจรสูตร) 36/235/13 36/233/12 |
421 | มหาโจร 5 (อ.อัคคิภารทวาชสูตร) 46/344/16 46/286/2 |
422 | ความอัศจรรย์ในพระธรรมวินัย 8 ประการ (ปหาราทสูตร) 37/402/6 37/333/16 |
423 | พระขอขมาโยม (พระสุธรรมเถระ) 41/248/11 41/203/2 |
424 | สมณะ 4 จำพวก (จุนทสูตร) 46/293/2 46/242/5 |
425 | เจ้าอาวาส ต้องรู้ (อาวาสิกสูตร) 36/485/3 36/478/3 |
426 | พุทธทำนาย 16 ข้อ (มหาสุบินชาดก) 56/220/8 56/160/11 |
427 | ภัยในอนาคต 5 ประการ (ตติยอนาคตสูตร) 36/193/13 36/191/3 |
428 | ภัยในอนาคต (ปุสสเถรคาถา) 53/202/17 53/193/4 |
429 | มายาหญิง (กุณาลชาดก) 62/576/12 62/470/3 |
430 | สาวกทั้งหลาย ย่อมไม่ล่วงละเมิดสิกขาบทของพระพุทธเจ้าแม้เพราะเหตุแห่งชีวิต . (พรรณนารัตนสูตร) 39/262/1 39/254/15 |
431 | พระพุทธเจ้าบอกพระอรหันต์ ให้แสดงธรรม เพื่อปิดประตูนรกให้แก่ชาวโลก . (อ.รัตนจังกมนกัณฑ์) 73/52/6 73/43/23 |
432 | พระอรหันต์ที่มีนิสัยพูดไม่เพราะ (พระปิลินทวัจฉเถระ) 43/491/6 43/375/17 |
433 | พระอรหันต์ผู้เลิศในการอยู่ปราศจากกิเลส (พระสุภูติ) 32/356/6 32/300/15 |
434 | พระอรหันต์เล็งญาณ (มหาสมัยสูตร) 14/104/7 14/99/22 |
435 | พระอรหันต์อดอยาก (โลสกชาดก) 56/7/3 56/6/6 |
436 | พระอรหันต์มีความเห็นขัดแย้งกัน (มหาจุนทสูตร) 36/672/1 36/656/16 |
437 | พระอรหันตสาวกก็มีความสงสัย (อ.กิงสุโกปมชาดก) 57/514/14 57/395/15 |
438 | พระอรหันตสาวกที่ ไม่มีฤทธิ์...ก็มี (สุสิมสูตร) 26/368/11 26/336/3 |
439 | พระอรหันต์ที่สามารถสอนผู้อื่นได้ แต่ไม่อยากสอนพระพุทธเจ้าทรงตำหนิ (จาตุมสูตร) 20/380/11 20/361/4 |
440 | พระอรหันต์ที่สอนผู้อื่นไม่ได้...ก็มี (นิสันติสูตร) 35/273/5 35/281/8 |
441 | พระอรหันต์ สั่งสอนผิดพลาด...ก็มี (อ.การันทิยชาดก) 58/751/12 58/549/20 |
442 | พระสารีบุตร ยอมรับการตักเตือน จากสามเณร (อ.สุสิมสูตร) 24/396/1 24/308/2 |
443 | แม้พระอรหันต์ ก็ควรเรียนปริยัติ (พาหิรนิทาน) 1/52/15 1/50/11 |
444 | พระอรหันต์ที่ศึกษาน้อยทำให้ผู้เกี่ยวข้อง...บาปมาก (อ.สังคีติสูตร) 16/302/5 16/288/4 |
445 | พระอรหันต์ก็ต้องอาบัติ (ทุติยเสขสูตร) 34/457/1 34/469/1 |
446 | พระอรหันต์ไม่เคารพในอุโบสถแล้วจะให้ใครเคารพ (อุโบสถขันธกะ) 6/385/11 6/346/24 |
447 | พระอรหันต์ก็มีทุกข์ทางกาย (อังคุลิมาลสูตร) 21/150/6 21/143/21 |
448 | พระอรหันต์ย่อมได้รับผลกรรมที่จะไปหมกไหม้ในนรกเฉพาะในชาติปัจจุบันนี้เท่านั้น (อังคุลิมาลสูตร) 21/150/12 21/144/3 |
449 | พระอรหันต์ถูกตีจนเป็นปมทั่วสรีระ แต่ท่านก็ไม่โกรธเลย (เรื่องภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง) 43/481/1 43/369/9 |
450 | พระอรหันต์ย่อมเสวยอารมณ์ ทั้งที่พึงใจ และ ไม่พึงใจ ยังเสวยสุขและทุกข์อยู่ . (ธาตุสูตร) 45/304/5 45/294/7 |
451 | พระอรหันต์ - พระเสขะ - ปุถุชน มีความเสมอกันด้านอารมณ์ (อ.มูลปริยยายสูตร) 17/94/8 17/79/3 |
452 | พระอรหันต์ จะทำความเพียรหรือไม่ทำก็ได้ (อ.ทามลิสูตร) 24/329/3 24/249/3 |
453 | แม้พระอรหันต์ ก็ไม่พึงเข้าไปในสถานที่อันไม่สมควร เพราะผู้อื่นจะระแวง ว่าเป็นบาปภิกษุ (สังกิตสูตร) 36/234/11 36/232/11 |
454 | ลาภสักการะก็ยังทำลายพระอรหันต์ (ภิกขุสูตร) 26/670/14 26/620/8 |
455 | พระพุทธเจ้าบอกวิธีสอบสวนผู้อ้างว่าเป็นพระอรหันต์ (ฉวิโสธนสูตร) 22/213/3 22/202/1 |
456 | กรรมที่พระอรหันต์ทำ ไม่เป็นกุศล และอกุศล ไม่มีวิบากเป็นเพียงกิริยา (อ.ภูมิชสูตร) 26/146/2 26/134/11 |
457 | โยมผู้บรรลุอรหันต์แล้ว ย่อมบวชหรือปรินิพพานในวันนั้น . (อ.เตวิชชวัจฉสูตร,อ.มหาปนาทชาดก) 20/445/21 20/422/14 |
458 | - โยมผู้บรรลุอรหันต์แล้ว ย่อมบวชหรือปรินิพพานในวันนั้น. (อ.มหาปนาทชาดก) 58/117/11 58/89/11 |
459 | พระอรหันต์ไม่ใช่ฐานะที่จะสึก (สัชฌสูตร) 37/734/5 37/603/2 |
460 | พระอรหันต์ยังไม่ว่างไปจากโลก (มหาปรินิพพานสูตร) 13/318/17 13/310/20 |
461 | ศีลของปุถุชน ย่อมขาดด้วยเหตุ 5 ประการ (อ.มิคสาลาสูตรที่ ๕) 38/242/15 38/244/3 |
462 | พ่อแม่ เป็นพระอรหันต์ของลูก (อ.พรหมสูตร) 45/671/17 45/646/16 |
463 | โทษของผู้สั่งใช้พระอรหันต์ (อ.ทาสกเถรคาถา) 50/143/15 50/140/7 |
464 | นิพพานปลอม (ขุททกวัตถุวิภังค์) 78/817/4 78/730/8 |
465 | นิพพานไม่ใช่จะมากำหนดเอาว่าเป็นสีเขียว-สีแดง (อ.จุลลเวทัลลสูตร) 19/354/4 19/352/2 |
466 | ผู้บรรลุคุณวิเศษ ต้องเคยสร้างบารมีมา (อ.มหาปทานสูตร) 13/145/9 13/141/20 |
467 | ผู้นิพพานแล้วไม่มีใครเห็นได้ ไม่มีแม้ภาษาที่จะพูดถึง (อุปสีวมาณวกปัญหานิทเทส) 67/200/9 67/187/10 |
468 | ไม่มีผู้ใดสามารถบันดาลด้วยฤทธิ์ให้จิตหลุดพ้นได้ (อัจจายิกสูตร) 34/474/13 34/489/1 |
469 | ภิกษุยังไม่บรรลุอรหันต์ แม้เป็นพระอนาคามีแล้วก็ไม่ควรวางใจ (เรื่องภิกษุมากรูป) 43/92/4 43/70/17 |
470 | หลงว่าตนบรรลุธรรมอยู่นานถึง 60 ปี (อ.สัลเลขสูตร) 17/494/13 17/403/11 |
471 | แม้มีฤทธิ์ก็เสื่อมได้ เพราะความประมาท (อ.มหาสกุลุทายิสูตร) 20/590/9 20/563/5 |
472 | อารมณ์ใดไม่เป็นที่สบายแก่ปุถุชน อารมณ์นั้นก็ไม่เป็นที่สบายแม้แก่พระอรหันต์ . (อ.สุนักขัตตสูตร) 22/122/19 22/116/22 |
473 | นิพพานไม่มีใจ (อ.มหาเวทัลลสูตร) 19/321/23 19/321/17 |
474 | อยู่กับพระอรหันต์แต่ก็ไม่รู้จักพระอรหันต์ (อ.มูลปริยายสูตร) 17/57/6 17/48/19 |
475 | พระเถระ 3 รูป อยู่ด้วยกันต่างคนต่างระวังความคิดอกุศล ผู้เป็นเถระคิดเฉพาะอยู่ในขันธ์ 5 (อ.สักกปัญหสูตร) 14/201/18 14/195/4 |
476 | พระติสสเถระ ถูกเมียน้องชายจ้างโจรมาฆ่า ท่านทุบขาทั้ง 2 ข้างของตนแล้วเจริญวิปัสสนา บรรลุอรหันต์ (อ.สังคีติสูตร) 14/267/11 14/254/1 |
477 | -พระติสสเถระเรื่องเดียวกัน.(( (อ.สติปัฏฐานสูตร) 17/647/3 17/535/17 |
478 | พระบรรลุอรหันต์คาปากเสือ (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร) 14/268/9 14/254/18 |
479 | (เรื่องเดียวกัน).((. . (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร) 17/648/4 17/536/14 |
480 | พระปีติมัลละ ถูกนายพรานพุ่งหอกใส่ เพราะคิดว่าเป็นเนื้อ ท่านเอาหญ้าอุดเลือดไว้เจริญวิปัสสนา บรรลุอรหันต์ (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร) 14/269/17 14/255/19 |
481 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร) 17/649/12 17/537/16 |
482 | พระเถระกลั้นเวทนาจนไส้แตก เป็นสมสีสี ปรินิพพาน (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร) 14/311/4 14/294/2 |
483 | (เรื่องเดียวกัน). (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร) 17/730/7 17/606/21 |
484 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร) 78/114/12 78/91/1 |
485 | พระมหามิตตเถระ อยู่ถ้ำกสกะ ได้ยินว่าโยมให้ของดีๆ แก่ท่าน ส่วนโยมกินของไม่ดี จึงสลดใจ เข้าถ้ำ บำเพ็ญได้บรรลุอรหันต์ก่อนเที่ยง (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร) 14/338/15 14/321/10 |
486 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร) 17/767/1 17/639/21 |
487 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.อาหารสูตร) 30/285/12 30/277/4 |
488 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.อปรอัจฉราสังฆาตวรรค) 33/247/19 33/215/11 |
489 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.สติปัฏฐานวิภังค์) 78/139/20 78/114/20 |
490 | ภิกษุณีสาวยืนมองนายประตู ถูกไฟราคะเผายืนตาย (อ.สังคีติสูตร) 16/304/16 16/290/12 |
491 | (เรื่องเดียวกัน). (อ.ขุททกวัตถุวิภังค์) 78/928/3 78/827/20 |
492 | พระบังสกูลเถระ ได้ผล 3 ในที่พบผ้าห่อขี้ ต่อมาได้บรรลุอรหันต์ (อ.สังคีติสูตร) 16/332/18 16/315/9 |
493 | (เรื่องเดียวกัน). (อ.อริยวังสสูตร) 35/92/20 35/97/24 |
494 | เดินตามพระอริยะก็ไม่รู้ว่าท่านเป็นอริยะ (อ.มูลปริยายสูตร) 17/57/5 17/48/11 |
495 | (เรื่องเดียวกัน). (อ.นกุลปิตุสูตร) 27/12/10 27/11/19 |
496 | (เรื่องเดียวกัน). . (อ.นิกเขปกัณฑ์) 76/363/15 76/333/13 |
497 | พระมหาติสสคุตตะ เห็นรูปที่เป็นข้าศึกขณะบิณฑบาต จึงไปเรียนอสุภกรรมฐานในสำนักพระมหาสังฆรักขิตเถระ ตัดราคะด้วยอนาคามีมรรค (อ.สัพพาสวสังวรสูตร) 17/161/1 17/132/17 |
498 | พระโลมสนาค นั่งอยู่กลางแจ้งพิจารณาโลกันตริยนรก (อ.สัพพาสวสังวรสูตร) 17/183/7 17/152/2 |
499 | พระปธานิยะ ถูกงูกัดขณะที่นั่งฟังอริยวังสสูตร จึงพิจารณาถึงศีลของตนพร้อมกับการเกิดปีติ พิษงูได้แล่นเข้าแผ่นดินไป ท่านได้บรรลุอรหันต์ (อ.สัพพาสวสังวรสูตร) 17/184/6 17/152/23 |
500 | พระทีฆภาณกเถระ ถูกด่าตลอดทางก็ไม่โต้ตอบ ท่านอยู่แต่กับกรรมฐานของตนเอง (อ.สัพพาสวสังวรสูตร) 17/184/16 17/153/7 |
501 | พระปธานิยะ อีกองค์หนึ่งอดกลั้นเวทนาจากลมในท้อง ท่านข่มเวทนาเจริญวิปัส-สนา ได้เป็นพระอนาคามีแล้วปรินิพพาน (อ.สัพพาสวสังวรสูตร)อ 17/185/20 17/154/5 |
502 | ทมิฬ ชื่อ ฑีฆทันตะ เกิดใกล้อุสสุทนรก นึกถึงบุญที่ตนเคยบูชาเจดีย์จึงได้ไปสวรรค์ (อ.เทวทูตสูตร) 23/205/6 23/191/6 |
503 | อำมาตย์คนหนึ่งเคยให้บุญแก่พญายม เมื่อเขาตายแล้วระลึกถึงบุญไม่ได้ พญายมจึงช่วยเตือนให้ (อ.เทวทูตสูตร) 23/205/16 23/191/17 |
504 | สามเณรผู้มีฤทธิ์ติดใจเสียงร้องเพลงของลูกสาวช่างหูก (อ.มหาสกุลุทายิสูตร) 20/585/20 20/558/23 |
505 | (เรื่องเดียวกัน). . (อ.สัมมัปปธานวิภังค์) 78/179/11 78/148/19 |
506 | คนหาฟืนผู้เคยบวชจนมีฤทธิ์ บอกพวกพระ เณรว่าอย่าประมาทเหมือนตน พระ 30 รูป สลดใจได้บรรลุอรหันต์ (อ.มหาสกุลุทายิสูตร) 20/590/3 20/562/24 |
507 | (เรื่องเดียวกัน). . (อ.สัมมัปปธานวิภังค์) 78/185/3 78/153/17 |
508 | ภิกษุหนุ่มกำลังเหาะไป ได้ยินเสียงเพลงของลูกสาวช่างทองที่กำลังอาบน้ำอยู่ จึงเสื่อมจากฌาน (อ.รถวินีตสูตร) 18/369/12 18/354/9 |
509 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.พุทธวรรคที่ ๑ ปัจเจกพุทธาปทาน) 70/298/10 70/268/9 |
510 | ภิกษุหนุ่มไปเรียนอุทเทส มีผู้หญิงหลงรักท่านจนอดข้าวตาย... ท่านได้เห็นผ้าที่นางเคยนุ่ง ถูกไฟราคะเผาตาย (อ.รถวินีตสูตร) 18/369/21 18/354/19 |
511 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.ขัคควิสาณสูตร) 46/139/9 46/113/9 |
512 | สามเณรีให้ที่รองบาตรแก่สามเณรรูปหนึ่ง ได้พบกันอีกครั้งตอนอายุ 60 ปี ต้องปาราชิกทั้งคู่ (อ.รถวินีตสูตร) 18/371/4 18/355/24 |
513 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.ขัคควิสาณสูตร) 46/140/12 46/114/5 |
514 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.พุทธวรรคที่ ๑ ปัจเจกพุทธปทาน) 70/299/7 70/299/3 |
515 | พระเถระ 2 พี่น้อง องค์พี่ปกปิดการถือเอกาสนิกังคธุดงค์ รับท่อนอ้อยจากพระน้องชายมาฉันแล้วสมาทานใหม่ (อ.รถวินีตสูตร) 18/364/21 18/349/20 |
516 | พระมัชฌันติกะ ผู้มีจีวรเศร้าหมอง ดำดินไปรับอาหารในงานฉลองวิหารของพระเจ้าธรรมาโศกราช (อ.รถวินีตสูตร) . 18/363/15 18/348/15 |
517 | ติสสสามเณรอยากจะสึก อุปัชฌาย์จึงให้สร้างที่อาศัยในถ้ำ เสร็จแล้วให้อยู่นั้นก่อนสามเณรสามเณรเจริญวิปัสสนาบรรลุอรหันต์ นิพพานในถ้ำนั้นเอง (อ.วิตักกสัณฐานสูตรสูตร) 18/247/9 18/235/4 |
518 | พระปิงคลพุทธรักขิต บ้านอุตตระ ศรีลังกา ใน 700 ตระกูลท่านเข้าสมาบัติทุกประตูบ้าน (อ.อรณวิภังคสูตร) 23/333/9 23/312/8 |
519 | หญิงฆ่าผัว ๆนั้นเกิดเป็น งู หมา วัว ลูก แล้วบวชพร้อมกับผู้เป็นตา ได้บรรลุ-อรหันต์ทั้งคู่ (อ.ติตถิยสูตร) 34/372/13 34/377/2 |
520 | นายพรานบ้านวัฒมานะ ให้ทานแก่พระทุศีล เปรตไม่ได้บุญ (อ.ทักขิณาวิภังคสูตร) 23/409/19 23/387/3 |
521 | พระมาไลยเทพเถระในเกาะลังกา เทศน์ฉฉักกสูตรในที่ 60 แห่ง มีพระบรรลุอรหันต์แห่งละ 60 รูป พระจุลลนาค เทศน์ที่วัดอัมพิลกฬกวิหารมีภิกษุ 1,000 รูปได้บรรลุอรหันต์ (อ.ฉฉักกสูตร) 23/499/3 23/469/16 |
522 | ภิกษุหนุ่มกล่าวใส่ร้ายพระอรหันต์ซึ่งนั่งฉันข้าวยาคูกลางทาง (เวรัญชกัณฑวรรณนาสูตร) 1/299/1 1/280/16 |
523 | ภิกษุหนุ่มและสามเณรไปหาไม้สีฟัน สามเณรเห็นอสุภได้บรรลุอนาคามี แล้วบอกให้พระไปดูพระก็ได้บรรลุอนาคามีเช่นกัน (อ.สามัญญผลสูตร) 11/418/13 11/355/21 |
524 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.สติปัฏฐานสูตร) 17/691/11 17/573/2 |
525 | (เรื่องเดียวกัน). (อ.สติสูตร) 30/358/8 30/348/4 |
526 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.ฌานวิภังค์) 78/387/15 78/325/25 |
527 | พระมหาปุสสเทวเถระ บำเพ็ญคตปัญจาคตวัตร ในพรรษาที่ 20ได้บรรลุอรหันต์ท้าวสักกะ ท้าวมหาพรหมมาบำรุง เทวดาใช้นิ้วมือแทนเทียนที่ทางจงกรม .. (อ.สามัญญผลสูตร) 11/423/16 11/359/26 |
528 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.สติปัฏฐานสูตร) 17/697/4 17/578/2 |
529 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.สติสูตร) 30/362/13 30/352/1 |
530 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.ขัคควิสาณสูตร) 46/118/16 46/95/11 |
531 | (เรื่องเดียวกัน).. (พรรณนาปัจเจกพุทธาปทาน) 70/277/14 70/250/16 |
532 | ยังมีพระ 50 รูปและพระมหานาค บำเพ็ญแบบเดียวกันได้บรรลุอรหันต์ . (อ.สติสูตร) 30/363/3 30/352/16 |
533 | (เรื่องเดียวกัน). (อ.ขัคควิสาณสูตร) 46/119/8 46/95/26 |
534 | (เรื่องเดียวกัน). (พรรณนาปัจเจกพุทธาปทาน) 70/278/6 70/251/1 |
535 | พระติสสะบำเพ็ญสาราณียธรรมเต็ม 12 ปี ได้ถวายบิณฑบาตแก่พระเถระ 50 รูปและได้รับผ้าของพระราชา (อ.มหาปรินิพพานสูตร) 13/361/20 13/353/7 |
536 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.โกสัมพิยสูตร) 19/429/23 19/419/16 |
537 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.ปฐมสาราณียสูตร) 36/540/18 36/533/10 |
538 | เทวดาบำรุงภิกษุ 12 รูป ภิกษุณีอีก 12 รูป อยู่ถึง 7 ปี (อ.มหาปรินิพพานสูตร) 13/363/19 13/355/3 |
539 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.โกสัมพิยสูตร) 19/432/3 19/421/14 |
540 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.ปฐมสาราณียสูตร) 36/542/22 36/353/12 |
541 | พระหนุ่มท่องมหาสมัยสูตร เทวดาแสดงนิ้วทอง (อ.มหาสมัยสูตร) 14/118/1 14/114/15 |
542 | ปีศาจฝุ่น (อ.จูฬสกุลุทายิสูตร) 20/637/1 20/607/14 |
543 | พระมหาสิวะ สอนลูกศิษย์จนสำเร็จอรหันต์ 30,000องค์ ส่วนท่านเองหลีกไปบำเพ็ญอยู่ 30 ปีจึงสำเร็จอรหันต์ ลูกศิษย์และท้าวสักกะมาล้างเท้าให้ . (อ.สักกปัญหสูตร) 14/187/12 14/182/4 |
544 | พระเถระนั่งอยู่ในบ้าน ภิกษุรูปหนึ่งมาเห็นเหมือนท่านนั่งเตียงเดียวกันกับลูกสาวอำมาตย์ (อ.วีมังสกสูตร) 19/402/21 19/395/5 |
545 | พระมิลกเถระ เคยเป็นนายพรานท่านกลัวนรกมาก เวลาทำความเพียรได้เอาฟางชุบน้ำวางบนหัวได้เดินจงกรม บรรลุผลที่ 3 (อ.อุทานสูตร) 27/117/15 27/121/6 |
546 | พระอรหันต์ 2 พี่น้อง ชื่อ พระมหานาค พระจุฬนาค อยู่บนเขา 30 ปี ได้ไปเยี่ยมแม่แต่ไม่บอกว่าตนเป็นลูก แม่ท่านก็จำไม่ได้ (อโนตตปิสูตร) 26/544/17 26/503/20 |
547 | พระโสณเถระ ให้พ่อบวชตอนแก่ พอใกล้ตายจัดให้บูชาพระพุทธเจ้าด้วยจิตเลื่อมใส เทวโลกจึงปรากฏ (อ.วรรคที่ ๒) 33/170/8 33/147/8 |
548 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.ญาณวิภังค์) 78/707/21 78/631/20 |
549 | คนขายฟืนนำเงินจากการจำนองลูกสาว ไปซื้อวัวนมมา เพื่อรีดนมมาปรุงอาหารถวายพระ (อ.อปรอัจฉราสังฆาตวรรค) 33/249/13 33/216/22 |
550 | พระทัตตาภยะ ป่วยเป็นโรคชนิดหนึ่ง จึงให้พระติสสะผู้เป็นน้องชายบอกกรรมฐาน น้องชายท่านบอกให้กำหนดกวฬิงการาหาร ท่านพิจารณาแล้วได้บรรลุอรหันต์ก่อนที่น้องชายท่านจะออกพ้นวิหาร (อ.ญาตกสูตร) 34/23/20 34/24/2 |
551 | อุบาสกผู้หนึ่งสาธยายอาการ 32 อยู่ 30 ปียังไม่เห็นผล จึงดูหมิ่นศาสนา เมื่อตายไปเกิดจระเข้ใหญ่ (อ.นิทานสูตร) 34/129/2 34/132/18 |
552 | นายประตูหาปลาเลี้ยงชีพอยู่ 50 ปี ก่อนตายกำลังจะรับศีลแต่ได้แค่สรณะก็ตายก่อนได้ไปเกิดอยู่สวรรค์ชั้นจาตุมมหาราชิกา (อ.นิทานสูตร) 34/129/19 34/133/8 |
553 | พระเจ้าสัทธาติสสะ จะได้เป็นพระอัครสาวกที่ 2 ของพระศรีอริยเมตไตร, พระอรหันต์ 2 องค์ปรินิพพาน ร่างกายถูกใส่ไว้ในกูฏาคารเดียวกัน กูฏาคารได้ลอยไปในอากาศ (อ.ฐานสูตร) 34/194/11 34/199/6 |
554 | ภิกษุหนุ่มเดินทางไกลไปฟังธรรม เพราะความเหน็ดเหนื่อยจึงฟังธรรมไม่รู้เรื่องพระเถระจึงแสดงธรรมให้ฟังอีกในวันถัดไป ภิกษุนั้นได้บรรลุโสดาปัตติผล . (อ.ฐานสูตร) 34/197/6 34/201/21 |
555 | พระเถระถูกงูกัดขณะฟังธรรม ท่านก็ยังฟังธรรมต่อจนรุ่งเช้า ได้บรรลุอนาคามีผลพิษงูนั้นได้ไหลออกจากแผลลงดินไป (อ.ฐานสูตร) 34/196/11 34/199/6 |
556 | หญิงคนหนึ่งอุ้มลูกเดินทางไปฟังธรรม ระยะทาง 5 โยชน์ ให้ลูกนอนบนดินส่วนตนเองยืนฟังอริยวังสปฏิปทาจนสว่าง นางได้บรรลุโสดาปัตติผล . (อ.ฐานสูตร) 34/197/20 34/202/14 |
557 | หญิงคนหนึ่งอุ้มลูกไปฟังธรรมที่จิตตลบรรพต วางลูกนอนบนดิน ลูกนางถูกงูกัดนางก็ยังฟังธรรมต่อ ได้บรรลุโสดาปัตติผลแล้วทำลายพิษงูด้วยสัจกิริยา . (อ.ฐานสูตร) 34/198/13 34/203/6 |
558 | ภิกษุ 2 รูปในครั้ง พระกัสสปพุทธเจ้า รูปหนึ่งบำเพ็ญสาราณิยธรรม รูปหนึ่งบำเพ็ญวัตรในโรงครัว รูปแรกจึงได้เกิดภายใต้เศวตฉัตร รูปหลังมาเกิดเป็นลูกคนรับใช้ (อ.สุมนสูตร) 36/66/10 36/66/19 |
559 | ภิกษุหนุ่มแสดงธรรมอยู่ พระราชาและราชธิดาก็ได้ไปฟังธรรม ทั้งภิกษุและราชธิดานั้น เกิดราคะ พระราชาจึงกั้นม่าน ให้ทั้ง 2 เคล้าคลึงกันตายทั้งคู่ (อ.ขัคควิสาณสูตร) 46/140/2 46/113/23 |
560 | (เรื่องเดียวกัน).. (อ.พุทธวรรคที่ ๑ ปัจเจกพุทธปทาน) 70/298/17 70/268/16 |
561 | พระมหานาคติมิยติสสทัตตเถระ ได้เปรียบเทียบมหาสมุทรกับนัยมุขในสมันต-ปัฏฐานว่าอันไหนมีกำลังกว่ากัน เกิดปีติ แล้วข่มปีติเจริญปัสสนาบรรลุอรหันต์ . (นิทานสูตร) 75/31/13 75/28/22 |
562 | ธิดานางหนึ่งเกิดปีติด้วยมองเห็นเจดีย์และมหาชนที่ไปบูชาเจดีย์ นางได้ลอยไปในอากาศถึงลานเจดีย์ก่อนที่พ่อแม่ของนางไปถึง (อ.จิตตุปปาทกัณฑ์) 75/322/7 75/297/13 |
563 | พระมหาโสณะครั้งภัยจากโจรชื่อติสสะ พระจำนวนมากได้ขึ้นแพข้ามทะเลหนีจากลังกา (อ.ญาณวิภังค์) 78/718/20 78/641/15 |
564 | สามเณรนิโครธกับพระเถระผู้เป็นอนาคามี หนีไปอยู่กับมนุษย์พวกกินใบไม้เป็นอาหาร ต่อมาพระเถระถูกพวกมนุษย์จับกิน (อ.ญาณวิภังค์) 78/725/5 78/647/2 |
565 | พระมหานาคเถระมีพรรษา 60 ได้สำคัญตนว่าเป็นพระอรหันต์ ลูกศิษย์ชื่อพระธัมมทินนะได้ ให้ท่านเนรมิตช้างวิ่งเข้าหาตน... แล้วบอกกรรมฐาน พระเถระ เดินจงกรม 3 ก้าวได้บรรลุอรหัตผล ท่านเป็นผู้มีโทสจริต (อ.ขุททกวัตถุวิภังค์) 78/907/2 78/808/19 |
566 | เครื่องทำให้ต่างกัน ระหว่างอริยสาวกผู้ได้สดับ กับปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ. (สัลลัตถสูตร) 29/10/11 29/10/4 |
567 | อริยสาวกผู้ได้สดับ ประกอบด้วย ความเลื่อมใสโดยไม่หวั่นไหวใน พุทธ ธรรมสงฆ์ (ทุติยทุสีลยสูตร) 31/350/12 31/351/7 |
568 | เทวบทของพวกเทพ 4 ประการ เพื่อความบริสุทธิ์ของสัตว์ทั้งหลาย ผู้ยังไม่บริสุทธ์คือ อริยสวก (ปฐมเทวปทสูตร) 31/360/9 31/361/10 |
569 | อริยสาวก อริยสาวิกา ผู้เจริญด้วยธรรม 5 ประการ ชื่อว่า เป็นผู้ยึดถือสาระ และยึดถือสิ่งประเสริฐแห่งกาย (๓.ปฐมวัฑฒิสูตร - ๔.ทุติยวัฆฒิสูตร) 36/153/12 36/150/3 |
570 | ว่าด้วยการตกอยู่ / ไม่ตกอยู่ ในอำนาจของมาร (ทุติยมารปาสสูตร) 28/193/9 28/189/12 |
571 | กำลังของมารข่มยาก กำจัดยาก (จักกวัตติสูตร) 15/123/13 15/121/18 |
572 | มารเสนา 10 (สุทธัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๔) 65/509/10 65/411/3 |
573 | มาร 5 (อ.ติสสเมตเตยยสุตตนิทเทสที่ ๗) 65/701/10 65/565/7 |
574 | มารเนรมิต หลุมถ่านเพลิง ดุจอเวจีมหานรก (อ.ขทิรังคารชาดก) 55/374/7 55/358/3 |
575 | เมื่อทำผิด มารย่อมได้ช่อง (เรื่องหญิงสหายของนางวิสาขา) 42/145/7 42/121/1 |
576 | มารแปลงกายเป็นพระเพื่อทำลายศรัทธา (อ.สาฏิมัตติกเถร) 51/279/4 51/274/8 |
577 | มารแปลงเป็น พระพุทธเจ้า ไปหาสุรอุบาสก (อ.อัคคัญญสูตร) 15/174/17 15/170/16 |
578 | มารดลใจไม่ให้ใส่บิณฑบาต (บิณฑิกสูตร) 25/45/2 25/37/13 |
579 | มารเข้าท้องพระอรหันต์ (มารตัชชนียสูตร) 19/465/4 19/453/11 |
580 | มารสิงพรหม (พรหมนิมันตนิกสูตร) 19/442/9 19/430/16 |
581 | มารสิงเทวดา (นานาติตถิยสูตร) 24/401/1 24/312/13 |
582 | ผู้อื่น (มาร) ส่งสัญญาณให้เราทุกข์ได้ (เจตนาสูตร) 35/405/11 35/423/10 |
583 | เทวดาและมนุษย์ ที่ยินดีในรูป เป็นผู้ถูกบ่วงมารรัดรึงแล้ว (ปฐมรูปารามสูตร) 28/262/17 28/257/1 |
584 | เทวดาดลใจให้ด่า (อ.ภัณฑุติณฑุกชาดก) 61/526/13 61/469/11 |
585 | เทวดารำคาญ เสียง นก (มัชฌันติกสูตร) 25/377/16 25/340/12 |
586 | เทวดายินดีการกล่าวธรรมแม้น้อย ของผู้แทงตลอดในธรรมนั้นๆ (เรื่องเอกุทานเถระ) 43/73/6 43/57/7 |
587 | เทวดาผู้ชักชวนคนให้ทำดีก็มี ให้ทำชั่วก็มี (อ.ธรรมเทวปุตตชาดก) 60/25/13 60/24/6 |
588 | การจุติของเทวดาจะมีนิมิตบอก 5 ประการ ก่อน 7 วันมนุษย์ (อ.มหาปทานสูตร) 13/95/14 13/90/23 |
589 | นิมิต 5 ของเทวดาก่อนจะจุติ (จวมานสูตร) 45/501/7 45/483/11 |
590 | เทวดาชั้นดาวดึงส์ประเสริฐกว่าชาวอุตตรกุรุทวีปและมนุษย์ด้วยฐาน 3 ประการ . (ฐานสูตร) 37/790/7 37/649/10 |
591 | ยักษ์บิดคอคน (อ.มาตังคชาดก) 61/20/2 61/18/7 |
592 | ท้าวสักกะขอส่วนบุญ (เรื่องท้าวสักกเทวราช) 43/328/6 43/251/9 |
593 | ท้าวเวสสุวรรณขอส่วนบุญ (มาตาสูตร) 37/146/18 37/120/1 |
594 | ทำบุญให้เทวดาในที่อยู่อาศัย (สุนีธะ-วัสสการะมหาอำมาตย์) 7/118/17 7/113/5 |
595 | เทวดาย่อมปกป้องคนทำดี (อ.มณิโจรชาดกที่ 4 ) 57/243/12 57/182/22 |
596 | อุทิศบุญผิดเวลา..เทวดาไม่ช่วย (อ.ภัตตสูตร) 36/481/15 36/475/6 |
597 | อุทิศบุญไม่พอ..เทวดาไม่ช่วย (อ.สารันททสูตร) 37/50/16 37/42/19 |
598 | เทวดาช่วยเทวดา (อ.กุสนาฬิชาดก) 56/466/11 56/345/25 |
599 | ใหญ่..เฉพาะเขต (กรรณกัตถลสูตร) 21/219/23 21/209/12 |
600 | เทวดาต่างศาสนา (นานาติตถิยสูตร) 24/399/5 24/311/5 |
601 | กำหนดอายุของเทวดา (วิสาขสูตร) 37/510/20 37/424/8 |
602 | กำหนดอายุของเทวดา - พรหม (อุปปาทกัมมอายุปมาณวาระ) 78/1000/1 78/898/5 |
603 | เครื่องหมายเตือนความตายของเทวดา (อ.อัจฉริยัพภูตสูตร) 23/50/8 23/49/11 |
604 | ทุกข์ของเทวดาเมื่อใกล้ตาย (อ.สุพรหมสูตรที่ 7) 24/357/7 24/272/25 |
605 | เทวดาจุติมีนิมิต 5 ประการ (จวมานสูตร) 45/501/7 45/483/11 |
606 | เทวดาสามารถอยู่ในที่แคบๆได้มาก (อ.มหาปรินิพพานสูตร) 13/423/5 13/417/1 |
607 | ฝากบุญยมราชไว้ก่อน (อ.เทวทูตสูตร) 23/205/19 23/191/19 |
608 | ใครคือพวกทานพหรือรากษส (อ.สุวีรสูตร) 25/458/18 25/415/3 |
609 | เทวดาช่วยในการศึกษาได้ (เรื่องหมอชีวก) 7/322/17 7/309/8 |
610 | สิงเพราะหวังดี (อ.อุบาสกบาลี) 33/58/8 33/50/6 |
611 | เทวดาช่วยให้ผัว - เมียเจอกัน (อ.ภัททิตถิกาวิมาน) 48/188/6 48/170/18 |
612 | เทวดาช่วยทำอาหาร (อวิทูเรนิทาน) 55/112/10 55/106/4 |
613 | นาคช่วยเราได้...เมื่อเขาได้บุญ (เรื่องบุรุษคนใดคนหนึ่ง) 41/156/13 41/129/3 |
614 | เทพผู้ใหญ่ที่น่าเคารพของเหล่าเทพ (อเนกวัณณวิมาน) 48/620/1 48/572/1 |
615 | ทำบุญแล้วควรอุทิศให้ท่านเหล่านี้ (ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ) 49/30/3 49/23/3 |
616 | กรรมที่ทำให้เป็นเทพและเปรต (นาคเปตวัตถุ) 49/109/10 49/81/13 |
617 | อุทิศบุญช่วยเปรตให้เป็นเทพ (มัตตาเปติวัตถุ) 49/170/1 49/131/15 |
618 | สายงานการปกครองของสวรรค์ (อ.ปฐมราชสูตร) 34/163/5 34/166/9 |
619 | แม่ธรณีไม่ได้ช่วยพระโพธิสัตว์ในวันตรัสรู้ (อ.พุทธวงศ์) 73/721/3 73/625/17 |
620 | ไล่เทวดาออกจากบ้าน (อนาถบิณฑิกเศรษฐี) 42/19/1 42/17/14 |
621 | เทวดาช่วยค้าขาย (เรื่องพระโชติกเถระ) 43/540/16 43/412/20 |
622 | ทำอะไรบ้างจึงได้เป็นเทวดา (วิมานวัตถุ) 48/5/4 48/6/6 |
623 | เหตุที่เทวดาไม่อยากมาโลกมนุษย์ (อ.มงคลสูตรที่ ๔) 47/140/14 47/112/12 |
624 | เทวดาไล่พระชั่ว (อ.สามัญญผลสูตร) 11/450/14 11/382/9 |
625 | เทวดากวนพระ (อ.เมตตสูตร) 39/333/10 39/323/4 |
626 | มารดลใจไม่ให้ใส่บาตร (ปิณฑิกสูตร) 25/45/2 25/37/13 |
627 | เทวดาพาให้ฉิบหาย (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/327/3 2/311/2 |
628 | นาคอันธพาลก็มี (อ.พกสูตร) 25/147/18 25/128/21 |
629 | นาคบันดาลน้ำท่วมไร่ - นา (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/112/3 1/106/8 |
630 | จอมอสูรถูกสาป (สมุททกสูตร) 25/486/11 25/440/1 |
631 | ภิกษุปั้นหุ่นเพื่อฆ่ายักษ์ (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/440/1 2/420/21 |
632 | รูปทั้งหมด เป็นบ่วงแห่งมาร (นานาติตถิยสูตร) 24/401/8 24/312/20 |
633 | รูปทั้งหมดแม้เพียงกล่าวชม...ก็ผิด (ปฐมมารปาสสูตร) 28/192/6 28/188/1 |
634 | ภิกษุปลุกเสกเลขยันต์.....ผิด (สามัญญผลสูตร) 11/315/11 11/268/8 |
635 | สาเหตุที่ทำให้พระศาสนาดำรงอยู่นาน/ไม่นาน (เวรัญชกัณฑ์) 01/12/091/12/09 1/12/6 |
636 | มูลเหตุแห่งการสังคายนาพระธรรมวินัย ครั้งแรก : พระมหากัสสปดำริว่าพวกบาปภิกษุจะพึงยังสัทธรรมให้อันตรธานเป็นแน่ (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/24/2 1/23/2 |
637 | รายชื่อพระเถระที่นำพระไตรปิฎกสืบต่อกันมา (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/109/1 1/59/1 |
638 | การสังคายนาธรรมวินัย ครั้งที่ 1 ที่กรุงราชคฤห์ (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/24/2 1/27/7 |
639 | -สังคายนา ครั้งที่ 2 ที่เมืองเวสาลี (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/64/1 1/61/8 |
640 | -สังคายนาครั้งที่ 3 ที่เมืองปาฏลีบุตร (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/107/1 1/67/17 |
641 | -สังคายนาครั้งที่ 4 ที่เกาะลังกา (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/168/1 1/159/15 |
642 | พระที่มาประกาศศาสนาในสุวรรณภูมิหลังจากการสังคายนาครั้งที่ 3 มีพระโสณกพระอุตตร เป็นต้น (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/111/14 1/105/10 |
643 | คุณสมบัติของภิกษุผู้ร่วมสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งแรก (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/26/10 1/25/10 |
644 | พระพุทธพจน์คือ พระไตรปิฎก เป็นอาวุธให้ภิกษุข้ามสังสารกันดารได้ (อ.สังคีติสูตร) 16/317/13 16/301/15 |
645 | แบบแผนการสังวรรณนาพระบาลี (อ.ปฏิจจสมุปปาทวิภังค์) 77/439/1 77/393/7 |
646 | พระอานนท์ถูกปรับโทษเพราะไม่ทูลถามอาบัติเล็กน้อยต่อพระศาสดา. . (ปัญจสติกขันธกะ) 9/518/15 9/509/3 |
647 | บริษัท 4 ไม่เคารพในสิกขา เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วเป็นเหตุให้พระสัทธรรมอันตรธาน (กิมพิลสูตร) 36/446/7 36/439/1 |
648 | ภิกษุผู้เป็นพหูสูต ไม่เอาใจใส่บอกสอน เป็นเหตุให้พระสัทธรรมอันตรธาน (สุคตสูตร) 35/382/1 35/399/25 |
649 | ภิกษุแสดงธรรม ว่าเป็นอธรรม...บาปมาก ทำศาสนาให้อันตรธาน (อธรรมวรรคที่๑๑) 32/176/3 32/140/1 |
650 | ภิกษุแสดงอาบัติ ว่าไม่เป็นอาบัติ...บาปมาก ทำศาสนาให้อันตรธาน (อนาปัตติวรรคที่๑๒) 32/178/3 32/151/1 |
651 | ภิกษุห้ามอรรถ-ธรรม ที่ถูก ถือเอาสูตรที่ผิด เป็นการสร้างทุกข์ให้แก่เทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย, ทำศาสนาให้อันตรธาน (สมจิตวรรค สูตรที่ ๑๐) 33/398/6 33/356/11 |
652 | อันตรธาน 5 อย่าง (อ.อธรรมวรรคที่ ๑๑) 32/167/2 32/143/20 |
653 | -ปริยัติอันตรธาน เป็นมูลเหตุแห่งการอันตรธานทั้ง 5. (อ.วรรคที่ ๑๐) 32/172/21 32/148/20 |
654 | อันตรธาน 3 อย่าง (อ.สัมปสาทนียสูตร) 15/249/1 15/244/2 |
655 | -อันตรธาน 3 . (อ.พหุธาตุกสูตร) 22/316/22 22/295/21 |
656 | -อันตรธาน 3 . (อ.สัทธรรมปฏิรูปกสูตร) 26/634/4 26/582/21 |
657 | โดยมุ่งถึงกาล อันตรธานของพระขีณาสพ (อ.โคตมีสูตร) 37/554/9 37/459/13 |
658 | ภัยในอนาคต 5 ...ภิกษุจะลบล้างพระธรรมวินัย (ตติยอนาคตสูตร) 36/195/6 36/192/6 |
659 | พระสัทธรรมอันตรธานได้ ถ้าชาวพุทธไม่ถือตามคำพระพุทธองค์ (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/24/14 1/23/13 |
660 | การเริ่มต้นกัปและเครื่องหมายบอกจำนวนพระพุทธเจ้าที่จะอุบัติในกัปนั้นๆ . (อ.มหาปทานสูตร) 13/75/20 13/70/23 |
661 | เรื่องธรรมดาของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย 30 ประการ (เรื่องเบ็ดเตล็ดของพุทธวงศ์) 73/748/1 73/650/1 |
662 | พระญาณ 10 ประการของพระพุทธเจ้า (พรรณนารัตนจังกมนกัณฑ์) 73/92/16 73/67/1 |
663 | อิทธิ (ความสำเร็จ) 10 อย่าง (พรรณนารัตนจังกมนกัณฑ์) 73/89/19 73/64/8 |
664 | ยมกปาฏิหาริย์ที่ไม่ทั่วไปแก่พระสาวกทั้งหลาย (พรรณนารัตนจังกมนกัณฑ์) 73/99/6 73/72/24 |
665 | พระกำลังของพระพุทธเจ้าเท่ากับกำลังของช้าง10 ตระกูล (พรรณนารัตนจังกมนกัณฑ์) (พรรณนารัตนจังกมนกัณฑ์) 73/124/3 73/94/16 |
666 | สิ่งไม่มีที่สิ้นสุด 4 อย่าง (พรรณนารัตนจังกมนกัณฑ์) 73/140/6 73/110/10 |
667 | มหาวิโลกนะ (การกำหนด) 5 อย่าง (พรรณนารัตนจังกมนกัณฑ์) 73/144/4 73/113/24 |
668 | บารมี 10 ประการ (พรรณนารัตนจังกมนกัณฑ์) 73/153/7 73/122/15 |
669 | บุพนิมิต 32 ประการของพระโพธิสัตว์ทุกพระองค์ (เรื่องความปรารถนาของท่านสุเมธ) 73/187/18 73/173/1 |
670 | การตั้งความปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้าย่อมสำเร็จด้วยองค์ 8 (พรรณนารัตนจังกมนกัณฑ์) 73/208/15 73/191/21 |
671 | ความแตกต่างกันของพระพุทธเจ้า 8 ประการ (เรื่องเบ็ดเตล็ดของพุทธวงศ์) 73/741/7 73/642/12 |
672 | พระโพธิสัตว์ที่ถูกทำนายว่าจะได้เป็นพระพุทธเจ้าอย่างแน่นอนแล้วจะไม่เกิดในอเวจี เป็นต้น... (พรรณนาวงศ์พระโคดมพุทธเจ้า) 73/691/6 73/598/6 |
673 | พรรณนาวงศ์ของพระพุทธเจ้าตั้งแต่ พระทีปังกรพุทธเจ้าถึง พระกัสสปพุทธเจ้า . (พุทธวงศ์) 73/255/1 73/234/11 |
674 | สถานที่จำพรรษาของพระพุทธองค์ในช่วง 20 พรรษาแรก (กถาปรารภคัมภีร์) 73/20/7 73/17/17 |
675 | พระมหาบุรุษเสด็จออกบวช (พรรณนาวงศ์พระโคดมพุทธเจ้า) 73/715/9 73/619/12 |
676 | พระมหาบุรุษทรงกำจัดมาร (พรรณนาวงศ์พระโคดมพุทธเจ้า) 73/720/20 73/624/10 |
677 | ฤทธิ์ของมาร 9 ประการ (พรรณนาวงศ์พระโคดมพุทธเจ้า) 73/723/12 73/626/20 |
678 | ตอนพระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ๆ (พรรณนาวงศ์พระโคดมพุทธเจ้า) 73/725/5 73/628/2 |
679 | เรื่องแจกพระบรมสารีริกธาตุ และบริขารต่างๆ (ขุททกนิกาย พุทธวงศ์) 73/739/1 73/640/15 |
680 | พระธาตุเป็นของกลาง (มหาปรินิพพานสูตร) 13/462/15 13/458/11 |
681 | สถานที่ ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายไม่ทรงละ (เรื่องเบ็ดเตล็ดของพุทธวงศ์) 73/747/1 73/649/1 |
682 | การกำหนดสหชาตและกำหนดนักษัตร (เรื่องเบ็ดเตล็ดของพุทธวงศ์) 73/747/9 73/649/9 |
683 | พระพุทธเจ้าเสด็จไป จักรวาลอื่น (อ.ปริสาสูตร) 37/612/13 37/504/9 |
684 | พระพุทธเจ้าไม่อุบัติในจักรวาลอื่น (พาหุธาตุกสูตร) 22/316/1 22/295/20 |
685 | เศษวิบากกรรมของพระพุทธเจ้า (พุทธาปทาน) 70/213/14 70/190/13 |
686 | การตอบปัญหาของพระพุทธเจ้า 4 แบบ (ปัญหาสูตร) 35/159/3 35/161/3 |
687 | พระพุทธเจ้าสอนโจร (โจรสูตร) 37/676/2 37/554/13 |
688 | พระพุทธองค์ก็ยังทรงปวารณาตน ให้ผู้อื่นตักเตือน (ปวารณาสูตร) 25/325/9 25/290/16 |
689 | พระพุทธเจ้าทรงตำหนิ รูปร่างของพระองค์ว่าต่ำทราม (อ.มหาปชาบดีโคตมีเถรีคาถา) 54/261/4 54/271/9 |
690 | พระธรรมวินัย คือ ตัวแทนพระศาสดา (มหาปรินิพพานสูตร) 13/320/20 13/313/6 |
691 | พระพุทธเจ้าให้กล่าวธรรมด้วยภาษาที่เข้าใจ (อรณวิภังคสูตร) 23/329/20 23/308/22 |
692 | พระพุทธเจ้าสรรเสริญการอยู่ป่า (ยสสูตร) 37/683/19 37/560/18 |
693 | พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ก็ทรงเคารพธรรม (คารวสูตร) 25/128/10 25/110/25 |
694 | พรรณนาพุทธกิจ 5 ประการ (อ.พรหมชาลสูตร) 11/147/4 11/125/10 |
695 | พระพุทธเจ้าย่อมแสดงแต่โอวาทปาติโมกข์เท่านั้น (อ.อุโปสถสูตร) 44/534/4 44/492/11 |
696 | บุพกรรมที่ทำให้ได้ซึ่ง มหาปุริสลักษณะ 32 ประการ (ลักขณสูตร) 16/01/0816/1/8 16/1/9 |
697 | พระโพธิสัตว์ที่จะมาตรัสรู้ในอนาคต 10 องค์ (อ.ญาณวิภังค์) 78/621/20 78/516/25 |
698 | การเกิดขึ้นของจักรวาล (อัคคัญญสูตร) 15/150/22 15/148/14 |
699 | 1,000 จักรวาล (ปฐมโกสลสูตร) 38/108/2 38/106/21 |
700 | โลกและจักรวาลไม่มีที่สิ้นสุด (ปฐมโรหิตัสสสูตร) 35/164/17 35/166/18 |
701 | สิ่งที่ไม่มีที่สิ้นสุด 4 อย่าง (พรรณนารัตนจังกมนกัณฑ์) 73/140/6 73/110/10 |
702 | เมื่อจักรวาลจะพินาศ...หมู่สัตว์จะไปอยู่ไหน ? (อ.บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส) 68/1006/10 68/704/24 |
703 | การเริ่มต้นแห่งกัป และเครื่องหมายแสดงจำนวนพระพุทธเจ้าที่จะอุบัติในกัปนั้นๆ . (อ.มหาปทานสูตร) 13/75/20 13/70/23 |
704 | เรื่องของกัปต่างๆ (อ.ธรรมสูตร) 45/626/1 45/602/4 |
705 | โกลาหล 3 อย่าง (พรรณนาวงศ์พระโคดมพุทธเจ้า) 73/692/8 73/599/2 |
706 | ภาษามคธเป็นภาษาทั่วไปของสัตว์โลก (อ.ปฏิสัมภิทาวิภังค์) 78/545/4 78/465/4 |
707 | เมื่อโลกกำลังพินาศอยู่ด้วยไฟ เหล่าสัตว์โดยมากย่อมเกิดในชั้นอาภัสสรพรหม . (พรหมชาลสูตร) 11/23/4 11/19/20 |
708 | เหตุที่ทำให้อายุขัยของมนุษย์เสื่อมและเจริญ (จักกวัตติสูตร) 15/111/4 15/109/22 |
709 | พันจักรวาล (ปฐมโกสลสูตร) 38/108/1 38/106/21 |
710 | พระพุทธเจ้าไปจักรวาลอื่น (อ.ปริสาสูตร) 37/612/13 37/504/9 |
711 | โกลาหล 5 (อ.มงคลสูตร) 47/129/19 47/103/26 |
712 | การเริ่มต้นกัปและนิมิตบอกจำนวนพระพุทธเจ้า (อ.มหาปทานสูตร) 13/75/20 13/71/2 |
713 | ความแตกต่างของพระพุทธเจ้า (อ.วิตักกสูตร) 45/258/1 45/250/1 |
714 | ความเหมือนกันของพระพุทธเจ้า (อ.ขุททกนิกาย พุทธวงศ์) 73/748/1 73/650/1 |
715 | พระพุทธเจ้าไม่อุบัติในจักรวาลอื่น (อ.พหุธาตุกสูตร) 22/316/1 22/295/20 |
716 | พรหมสุทธาวาสมีเป็นบางกาล (อ.มหานิทานสูตร) 13/227/1 13/220/17 |
717 | ในพรหมโลกย่อมไม่ปรากฏเพศ (อ.พหุธาตุกสูตร) 22/327/1 22/306/15 |
718 | ปรินิพพาน 3 (อ.พหุธาตุกสูตร) 22/319/1 22/298/21 |
719 | อายุศาสนา 5,000 ปี (อ.โคตมีสูตร) 37/554/9 37/459/13 |
720 | อนันตริยกรรม 5 (อ.พหุธาตุกสูตร) 22/310/5 22/290/1 |
721 | เทียบพ่อ - แม่ กับพระพุทธเจ้า (ทุติยขตสูตร) 35/9/2 35/10/24 |
722 | ความเป็นมาของพระไตรปิฎก (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/24/2 1/23/2 |
723 | มหานรก (อ.อัตตทัณฑสูตร) 66/509/17 66/475/12 |
724 | เศษวิบากกรรมของพระพุทธเจ้า (อ.พุทธาปทาน) 70/213/14 70/190/13 |
725 | คำสอนนอกศาสนาที่พระพุทธเจ้ายอมรับ (ตายนสูตร) 24/336/2 24/254/16 |
726 | สัตว์ที่มีแต่รูปร่าง...ไม่มีจิต (อ.พรหมชาลสูตร) 11/264/8 11/222/13 |
727 | ราหู คือใคร ? (อ.โสณทัณฑสูตร) 12/27/1 12/25/6 |
728 | ผู้คุ้มครองโลก (อาฏานาฏิยสูตร) 16/123/2 16/111/3 |
729 | เปิดโลกของนาค (นาคสังยุต) 27/556/4 27/541/5 |
730 | เปิดโลกของครุฑ (สุปัณณสังยุต) 27/567/4 27/553/5 |
731 | เปิดโลกคนธรรพ์ (คันธัพกายสังยุต) 27/573/7 27/560/8 |
732 | เปิดโลกเทวดาสถิตเมฆ (วลาหกสังยุต) 27/581/5 27/568/6 |
733 | กรรมที่เป็นเหตุให้เกิดเป็นมนุษย์และเทวดา (ธัมมหทยวิภังค์) 78/999/7 78/897/12 |
734 | ประมาณแห่งอายุของเทวดาเทียบกับมนุษย์ (ธัมมหทยวิภังค์) 78/1000/1 78/898/1 |
735 | ประมาณแห่งอายุของรูปพรหม (ธัมมหทยวิภังค์) 78/1002/1 78/900/1 |
736 | ประมาณแห่งอายุของอรูปพรหม (ธัมมหทยวิภังค์) 78/1005/5 78/902/18 |
737 | ไม่ปรากฏเพศชาย -หญิงในพรหมโลก (อ.พหุธาตุกสูตร) 22/327/1 22/306/15 |
738 | สัตว์ที่มีอำนาจแห่งบุญส่งเสริม ไปสู่กามภพ และ รูปภพ แม้ไปสู่ภวัคคพรหมย่อมกลับไปสู่ทุคติอีก (ธัมมหทยวิภังค์) 78/1005/18 78/903/4 |
739 | ผู้เจริญฌาน 4 จำพวก ถ้ายังเป็นปุถุชน ย่อมต้องกลับมาสู่ทุคติได้อีก (ปฐมฌานสูตร) 35/325/3 35/338/3 |
740 | ทานที่ทำแล้วส่งผลให้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นต่างๆ (ทานูปปัตติสูตร) 37/481/2 37/398/10 |
741 | สายงานการปกครองของสวรรค์ (ปฐมราชสูตร) 34/162/3 34/165/1 |
742 | เที่ยวสวรรค์ (อ.เนมิราชชาดก) 63/279/7 63/352/21 |
743 | เรียนรู้เรื่องโลกันตรนรก (อ.อัจฉริยัพภูตสูตร) 23/57/16 23/56/17 |
744 | นายนิรยบาลจะให้คนพาลถูกจองจำด้วยเครื่องจองจำ 5 ประการ (พาลบัณฑิตสูตร) 23/152/1 23/140/9 |
745 | ว่าด้วยมหานรก (เทวทูตสูตร) 23/197/7 23/183/7 |
746 | มหานรก 8 ขุม (สังกิจจชาดก) 62/158/6 62/145/19 |
747 | ว่าด้วยกุกกุลนรก (เทวทูตสูตร) 23/199/1 23/185/1 |
748 | พระยายมดำริอยากเกิดเป็นมนุษย์และรู้ทั่วถึงธรรมของพระพุทธเจ้า (เทวทูตสูตร) 23/200/18 23/186/17 |
749 | อธิบาย อเวจีมหานรก (อ.เทวทูตสูตร) 23/205/22 23/191/25 |
750 | อเวจีนรกร้อนยิ่งกว่าไฟธรรมดา (นายจุนทสูกริก) 40/171/9 40/128/1 |
751 | อสูรเหล่ากาลกัญชิกา (อ.ปาฏิกสูตร) 15/41/16 15/40/5 |
752 | นรกของผู้มีอาชีพนักแสดง (ตาลปุตตสูตร) 29/181/3 29/172/24 |
753 | นรกของนักรบอาชีพ (โยธาชีวสูตร) 29/184/21 29/176/11 |
754 | นรกทั้งเป็นของผู้ฆ่าสุกรขายเป็นอาชีพ (นายจุนทสูกริก) 40/172/1 40/128/11 |
755 | นรกของคนทำคดีโกง (สังกิจจชาดก) 62/163/16 62/150/9 |
756 | ผลของการประพฤติผิดในภรรยาผู้อื่น...ต้องตกนรกสิ้นแสนปี (พระโสไรยเถระ) 40/447/4 40/327/10 |
757 | โทษของการเป็นชู้กับภรรยาผู้อื่น (อิสิทาสีเถรีคาถา) 54/463/18 54/472/19 |
758 | ตกนรกขี้ เพราะเป็นชู้กับเมียผู้อื่น (กูปนิมุคคสูตร) 26/716/7 26/671/7 |
759 | โทษของหญิงผู้ประพฤตินอกใจสามี (นิจฉวิตถีสูตร) 26/718/2 26/674/4 |
760 | หญิงผู้ประพฤตินอกใจสามี (เนมิราชชาดก) 63/225/1 63/205/7 |
761 | นรกของหญิงที่ทำแท้ง (สังกิจจชาดก) 62/162/12 62/149/9 |
762 | ตัวอย่างผู้ที่โกหกแล้วสาบาน (อ.กัณณมุณฑเปติวัตถุ) 49/316/14 49/245/14 |
763 | โทษของหญิงผู้เคยเป็นแม่มด เทียบกับพวกร่างทรง (มังคุฬิตถีสูตร) 26/718/19 26/675/4 |
764 | นรกของผู้มีความเห็นผิด และชักชวนผู้อื่นให้มีความเห็นผิดไปด้วย (อ.เนมิราชชาดก) 63/277/5 63/250/20 |
765 | บาปของภิกษุผู้ประพฤติชั่วช้าในสมัยพระกัสสปพุทธเจ้า (ภิกขุสูตร) 26/721/17 26/678/9 |
766 | บาปของสามเณรผู้ประพฤติชั่วช้า (สามเณรสูตร) 26/723/14 26/680/7 |
767 | บาปของเพชฌฆาตผู้ฆ่าโจร (สีสัจฉินนสูตร) 26/721/3 26/677/11 |
768 | ฝากบุญยมราชไว้ก่อน (อ.เทวทูตสูตร) 23/205/19 23/191/17 |
769 | คำถามจากพระยายม (เทวฑูตสูตร) 23/190/10 23/177/7 |
770 | ใกล้ตายควรคิดถึงอะไร (อ.นิทานสูตร) 34/128/11 34/132/4 |
771 | มหานรก (สังกิจจชาดก) 62/158/6 62/145/19 |
772 | ท่องนรก (อ.เนมิราชชาดก) 63/256/1 63/231/17 |
773 | กรรมที่เป็นเหตุให้เกิดเป็นมนุษย์และเทวดา (ธัมมหทยวิภังค์) 78/999/7 78/897/12 |
774 | ลำดับการเกิดในครรภ์ (อ.ชราสุตตนิทเทส) 65/635/14 65/513/21 |
775 | นรกในท้องแม่ (อ.ทรีมุขชาดก) 59/39/12 59/28/6 |
776 | ทุกข์ในท้องแม่ (อ.กามสุตตนิทเทส) 65/152/11 65/128/2 |
777 | ทำไมจึงไม่มีลูก (อ.โพธิราชกุมาร) 42/192/12 42/162/18 |
778 | ปรารถนาให้ลูกดีมาเกิด (อ.กุสชาดก) 62/211/11 62/195/2 |
779 | คุณของไม้เรียว (อ.ติลมุฏฐิชาดก) 58/20/3 58/16/25 |
780 | แผนที่ชีวิต (สิงคาลกสูตร) 16/78/12 16/71/9 |
781 | -อธิบายแผนที่ชีวิต (อ.สิงคาลกสูตร) 16/95/5 16/84/9 |
782 | การรักษาตน 1 (ปิยสูตร) 24/426/17 24/337/16 |
783 | การรักษาตน 2 (อัตตรักขิตสูตร) 24/429/1 24/339/10 |
784 | ผู้ประกอบด้วยธรรม 10 ประการ เหมือนถูกเชิญมาไว้ในสวรรค์ (ทุติยวรรคที่ ๒) 38/489/10 38/490/10 |
785 | มนุษย์เปรต (อ.มหากปิชาดก) 61/442/2 61/394/24 |
786 | ความตายเหมือนกับงูลอกคราบ (อ.อุรคชาดก) 58/737/1 58/539/11 |
787 | เศรษฐีขี้เหนียวตายแล้วเกิดเป็นหมา (อ.สุภสูตร) 12/223/14 12/210/18 |
788 | เศรษฐีขี้เหนียวตายแล้วเกิดเป็นคนพิการ (อานนทเศรษฐี) 41/183/15 41/152/12 |
789 | ผลอย่างเบาที่สุดของมนุษย์ผู้ผิดศีล 5 (สัพพลหุสสูตร) 37/495/2 37/411/3 |
790 | มนุษย์ประเสริฐกว่าชาวอุตรกุรุทวีปและเทวดาชั้นดาวดึงส์ด้วยฐานะ 3 ประการ . (ฐานสูตร) 37/790/13 37/649/15 |
791 | มนุษย์เกิดจากไข่ก็มี (อ.มหาสีหนาทสูตร) 18/87/12 18/83/10 |
792 | ทารกย่อมเกิดขึ้นได้แม้ด้วยการลูบคลำอวัยวะ มีการจับมือ จับมวยผมเป็นต้น . (อ.มหาตัณหาสังขยสูตร) 19/202/5 19/204/18 |
793 | ยุคข้าวยาก หมากแพง (อ.มหาปทานสูตร) 13/77/14 13/72/23 |
794 | เหตุที่เมืองถล่ม (อ.อุปาลิวาทสูตร) 20/144/21 20/138/1 |
795 | คนทำลายป่าเทวดาโกรธ (อ.ปุณโณวาทสูตร) 23/446/1 23/419/4 |
796 | สาเหตุที่ทำให้ธรรมชาติผิดปกติ (ธัมมิกสูตร) 35/221/9 35/228/3 |
797 | สาเหตุที่ทำให้ธรรมชาติผิดปกติ (อ.มหาสุบินชาดก) 56/229/6 56/170/6 |
798 | พระเจ้าวิฑูฑภะฆ่าพวกศากยะ (พระเจ้าวิฑูฑภะ) 41/36/11 41/29/8 |
799 | สาเหตุที่ทำให้บ้านเมืองเดือดร้อน (อ.กุรุธรรม) 58/213/13 58/157/18 |
800 | สึนามิในพระไตรปิฎก (อ.สมุททวาณิชชาดก) 60/141/8 60/133/5 |
801 | หน้าที่ของพ่อแม่ที่ดี (สิงคาลกสูตร) 16/88/8 16/79/2 |
802 | ความรักของพ่อแม่ (อ.นัตถิปุตตสมสูตร) 24/81/2 24/59/16 |
803 | บุญคุณของพ่อแม่ตอบแทนได้ยาก (สมจิตวรรค) 33/357/11 33/318/17 |
804 | ความหวังของพ่อแม่ (ปุตตสูตร) 36/88/11 36/87/15 |
805 | ปากร้ายใจดี (อ.พรหมชาลสูตร) 11/196/6 11/167/8 |
806 | รักลูกไม่ถูกทาง (1) (บุตรเศรษฐี) 42/181/1 42/152/1 |
807 | รักลูกไม่ถูกทาง (2) (อ.เขตตูปมาเปตวัตถุ) 49/6/6 49/5/5 |
808 | พ่อแม่แก้บาปให้ลูก (อ.กุมารเปตุวัตถุ) 49/402/8 49/231/21 |
809 | จ้างลูกฟังเทศน์ (นายกาละลูกของอนาถฯ) 42/270/6 42/231/6 |
810 | หน้าที่ของลูกที่ดี (สิงคาลกสูตร) 16/88/3 16/78/21 |
811 | ลูกที่น่าสรรเสริญ (มาตุโปสกสูตร) 25/294/2 25/261/8 |
812 | การเลี้ยงดูบิดามารดาชื่อว่าเป็นมงคลอันสูงสุด (อ.มงคลสูตร) 39/187/18 39/182/5 |
813 | บุตรเมื่อปฏิบัติผิดในมารดาบิดาย่อมเป็นเหตุแห่งการถูกเผาไหม้ (อ.สังคีติสูตร) 16/305/7 16/290/23 |
814 | ไม้เท้าดีกว่าลูก (มหาศาลสูตร) 25/276/14 25/244/23 |
815 | ทำชั่วเพราะพ่อแม่นรกก็ไม่ยกเว้น (ธนัญชานิสูตร) 21/386/12 21/366/8 |
816 | บุตรน้อยอายุ 7 ขวบ หาอุบายช่วยไม่ให้พ่อฆ่าปู่ (ตักกลชาดก) 59/865/11 59/595/15 |
817 | ลูกผู้มีปัญญาช่วยพ่อให้พ้นจากความเศร้าโศก (สุชาตชาดก) 58/713/1 58/523/1 |
818 | เพียงแค่...เลื่อมใส (มัฏฐกุณฑลี) 40/42/17 40/32/16 |
819 | ผลของลูกที่อกตัญญู (อ.มหาโมคคัลลานเถราปทาน) 70/495/10 70/449/25 |
820 | ช้างกตัญญู (อ.มาตุโปสกชาดก) 60/4/16 60/4/17 |
821 | โทษหนักก็ผ่อนให้เป็นเบาได้ ถ้าสำนึกผิดแล้วแก้ไขให้ถูกต้องตามธรรม. (สามัญญผลสูตร) 11/335/18 11/284/14 |
822 | หญิง(แม่)เป็นสิ่งสูงสุดแห่งภัณฑะทั้งหลายที่ไม่พึงทอดทิ้ง (อ.อิสสรสูตร) 24/311/5 24/234/5 |
823 | พ่อแม่เป็นพระอรหันต์ของลูก (อ.พรหมสูตร) 45/671/8 45/646/7 |
824 | พ่อแม่รักและให้อภัยแก่ลูกเสมอ (อ.มโหสถชาดก) 63/404/15 63/367/8 |
825 | ทำชั่วเพราะพ่อแม่นรกก็ไม่ยกเว้น (ธนัญชานิสูตร) 21/386/12 21/366/8 |
826 | ผู้หญิงต้องรู้ (มาตุคามสูตร) 29/70/1 29/66/1 |
827 | หน้าที่ของภรรยา (อุคคหสูตร) 36/72/14 36/72/13 |
828 | ภรรยาต้องรู้ (ภริยาสูตร) 37/197/1 37/161/16 |
829 | สะใภ้ ต้องรู้โอวาท10 (เรื่องนางวิสาขา) 41/89/11 41/73/19 |
830 | การใช้ทรัพย์ให้เกิดประโยชน์ (อาทิยสูตร) 36/93/3 36/92/3 |
831 | พรหมของลูก (พรหมสูตร) 34/105/2 34/108/2 |
832 | พระอรหันต์ของลูก (อ.พรหมสูตร) 45/671/8 45/646/7 |
833 | บุญคุณของพ่อ - แม่ ตอบแทนได้ยาก (สมจิตตวรรคสูตรที่ ๒) 33/357/10 33/318/17 |
834 | หมาจิ้งจอกกตัญญู (อ.ทุติยสิคาลสูตร) 26/751/16 26/707/17 |
835 | ลิงกตัญญู (อ.จุลลนันทิยชาดก) 57/392/9 57/299/17 |
836 | กวางกตัญญู (อ.นันทิยมิคราชชาดก) 59/106/15 59/75/3 |
837 | ผลของลูกที่อกตัญญู 1 (อ.ปฐมอัจฉริยสูตร) 35/338/19 35/352/10 |
838 | ผลของลูกที่อกตัญญู 2 (อ.จตุทวารชาดก) 59/763/8 59/526/18 |
839 | ลำดับการเกิดในครรภ์ (อ.ชราสุตตนิทเทส) 65/635/13 65/513/21 |
840 | หน้าที่ของสามีและภรรยา (สิงคาลกสูตร) ของสามีและภรรยา (สิงคาลกสูตร) 16/89/9 16/79/20 |
841 | พระพุทธองค์ตรัส คุณสมบัติของภรรยาที่ดี (อุคคหสูตร) 36/72/14 36/72/13 |
842 | ภรรยา 7 จำพวก (ภริยาสูตร) 37/197/1 37/161/16 |
843 | หน้าที่ 10 ประการที่สะใภ้ต้องรู้ (เรื่องนางวิสาขา) 41/89/11 41/73/19 |
844 | ท้าวสักกะนอบน้อม อุบาสกผู้เลี้ยงดูภรรยาโดยชอบธรรม (ปฐมสักกนมัสสนสูตร) 25/508/20 25/461/2 |
845 | ผู้ประพฤติธรรม เลี้ยงดูภรรยา ให้ทานแม้น้อยก็มีผลมาก... (มัจฉริสูตร) 24/163/5 24/119/18 |
846 | การสงเคราะห์บุตรภรรยาเป็นมงคล (อ.มงคลสูตร) 39/189/18 39/184/4 |
847 | ว่าด้วยความอยู่เป็นสามี - ภรรยากัน 4 ประเภท (ปฐมสังวาสสูตร) 35/184/9 35/188/12 |
848 | พระพุทธองค์ทรงตำหนิ / สรรเสริญ ผู้บริโภคกาม 10 จำพวก (กามโภคีสูตร) 38/290/8 38/292/3 |
849 | ภรรยาที่ทำไม่ดีต่อสามีย่อมถูกเผาผลาญ (อ.ปฐมอัคคิสูตร) 37/112/1 37/91/8 |
850 | ผู้หญิงย่อมยั่วยวนชายด้วยเหตุ 40 ประการ (กุณาลชาดก) 62/524/1 62/478/16 |
851 | อาการของหญิงผู้ประทุษร้ายสามี (กุณาลชาดก) 62/524/11 62/479/1 |
852 | ภรรยาที่ดูหมิ่น ไม่ปรนนิบัติ สามี พ่อแม่ของสามี ต้องตกตาปนนรก (สังกิจจชาดก) 62/163/6 62/149/25 |
853 | โทษของหญิงผู้ประพฤตินอกใจสามี (นิจฉวิตถีสูตร) 26/718/2 26/674/2 |
854 | โทษของการเป็นชู้กับเมียผู้อื่น (กูปนิมุคคสูตร) 26/716/3 26/671/6 |
855 | ประพฤติซื่อตรง เอาใจสามี ได้เป็นเทพธิดามีอานุภาพมาก (ปฐมปุติพพตาวิมาน) 48/92/15 48/83/2 |
856 | เป็นสะใภ้ที่ดีถวายขนมเบื้องแก่ภิกษุทรงศีล แม่ผัวไม่พอใจจึงตีนาง นางตายแล้วไปเกิดในดาวดึงส์ (อุฬารวิมาน) 48/216/15 48/201/15 |
857 | เครื่องจองจำที่หย่อนๆ แต่แก้ได้ยาก (พันธนสูตร) 24/448/18 24/357/13 |
858 | เจริญอย่างเดียวไม่มีเสื่อม (มหาปรินิพพานสูตร) 13/235/3 13/228/1 |
859 | แผนที่ชีวิต (สิงคาลกสูตร) 16/78/12 16/71/9 |
860 | ผู้ที่ยังไม่มีศาสนา (อปัณณกสูตร) 20/224/5 20/212/15 |
861 | สมปรารถนา (สังขารูปปัตติสูตร) 22/404/2 22/377/2 |
862 | เตรียมตัวก่อนตาย (ปัพพโตปมสูตร) 24/523/6 24/422/4 |
863 | อันตรายของวงการบันเทิง (ตาลปุตตสูตร) 29/181/2 29/172/26 |
864 | อันตรายของนักรบ (โยธาชีวสูตร) 29/184/22 29/176/11 |
865 | คนป่วยใกล้ตาย (อ.อัฏฐานบาลี) 33/170/8 33/147/14 |
866 | แม้เป็นเทวดาก็อย่าประมาท (อาเนญชสูตร) 34/531/20 34/553/7 |
867 | ฤกษ์ดีตลอดกาล (สุปุพพันหสูตร) (สุปุพพัณหสูตร) 34/591/6 34/617/11 |
868 | โทษของการแต่งตัว (เรื่องท้าวสักกะ) 40/370/13 40/274/7 |
869 | ผู้พิพากษา ต้องรู้ (อัณฐภารีสูตร) 26/714/2 26/669/2 |
870 | อุบาสก ต้องรู้ (สารัชชสูตร) 36/368/3 36/363/3 |
871 | ผู้บริหาร ต้องรู้ (กปิชาดก) 59/297/2 59/208/2 |
872 | ความเสื่อม 12 อย่าง (ปราภวสูตร) 46/309/2 46/255/16 |
873 | คนถ่อย 20 จำพวก (วสลสูตร) 46/327/1 46/270/23 |
874 | หน้าไหว้หลังหลอก (โสณทัณฑสูตร) 12/16/13 12/15/9 |
875 | เรื่องที่ไม่ควรคิด (อจินติตสูตร) 35/235/2 35/240/15 |
876 | สิ่งไม่มีที่สุด 4 อย่าง (อ.จิตตุปปาทกัณฑ์) 75/434/1 75/408/3 |
877 | สิ่งที่ไม่ควรดูหมิ่น (ทหรสูตร) 24/406/4 24/318/4 |
878 | การเกิดอันยาวนาน (ติณกัฏฐสูตร) 26/506/4 26/465/4 |
879 | ผู้ไม่เคยเกี่ยวข้องกัน...หาได้ยากยิ่ง (มาตุสูตร) 26/529/2 26/488/2 |
880 | รักข้ามภพ (อ.สุตตเปตวัตถุ) 49/303/8 49/235/10 |
881 | ไม่ควรประมาณใคร (มิคสาลาสูตร) 38/241/12 38/242/24 |
882 | ไม่อยากเป็นเปรต (เปตวัตถุ) 49/2/18 49 |
883 | ฤกษ์ยามที่ดี (นักขัตตชาดก) 56/49/2 56/36/14 |
884 | เปลี่ยนชื่อดีจริงหรือ (นามสิทธิชาดก) 56/370/2 56/274/1 |
885 | พระอนาคามีคฤหัสถ์ต้องสักการะเณร (อ.มุนิสูตร) 46/538/5 46/445/12 |
886 | เจริญสติได้ทุกเวลา (มหานามสูตรที่ ๒) 38/540/11 38/540/7 |
887 | ค้าขายธรรม เป็นบาป (อ.ปฏิสัลลานสูตร) 44/606/1 44/559/20 |
888 | ศีลยังไม่ดี ห้ามเรียนกรรมฐาน (อ.พรหมชาลสูตร) 11/104/1 11/90/18 |
889 | ศีลไม่ดี ห้ามภาวนา (ระวังบ้า) (ปฐมปาราชิกวรรณนา) 1/763/6 1/737/9 |
890 | เมื่อไหร่ ? จึงควรเรียนกรรมฐาน (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/350/4 2/333/9 |
891 | อุทิศบุญบ่อยๆเพื่ออนุเคราะห์แก่เปรตทั้งหลาย (อภิชชามานเปตวัตถุ) 49/348/3 49/269/1 |
892 | ทำบาปโดยไม่รู้...ก็เป็นบาป (อ.เจตนาสูตร) 35/408/19 35/427/2 |
893 | ปรารถนาครองรักกันตลอดกาล (ปฐมสมชีวิสูตร) 35/189/13 35/194/12 |
894 | รักสิ่งใด...ตายแล้วก็ไปอยู่กับสิ่งนั้น (พระติสสเถระ) 43/17/8 43/14/6 |
895 | อาลัยสิ่งใด...ตายแล้วก็ไปอยู่กับสิ่งนั้น (อ.ภัททชิเถรคาถา) 51/107/20 51/106/2 |
896 | โทษของชู้ (มหานารทกัสสปชาดก) 64/218/21 64/204/10 |
897 | สร้างพุทธภูมิ ต้องรู้ (ปกิณณกถา) 74/570/2 74/439/11 |
898 | บุญเป็นทุกข์พิเศษ (วรรณนาสุตตันตภาชนีย์) 77/474/7 77/422/3 |
899 | ผู้พิพากษาโกง ได้รักษาศีลเพียง ครึ่งวันเมื่อตายไปเกิดเป็นเวมานิกเปรต . (กิงฉันทชาดก) 61/300/13 61/269/24 |
900 | ผู้พิพากษาตัดสินคดีไม่ถูกต้อง เมื่อตายไปเกิดเป็นเปรตมีอัณฑะเท่าหม้อ . (อัณฑภารีสูตร) 26/714/2 26/669/2 |
901 | นรกของพนักงานตีราคาโกง (อ.เนมิราชชาดก) 63/272/6 63/246/15 |
902 | เป็นพระราชาอยู่ 20 ปี ได้ตกนรก 80,000 ปี ด้วยโทษจากการสั่งฆ่าโจร. (เตมิยชาดก) 63/23/1 63/19/15 |
903 | ตัดสินคดีผิด ควรวินิจฉัยใหม่ (อ.มโหสถชาดก) 63/438/12 63/398/13 |
904 | ตัดสินคดีผิด ควรวินิจฉัยใหม่ (เรื่องวิปัสสีราชกุมาร) (อ.มหาปทานสูตร) 13/128/7 13/123/14 |
905 | คนทำคดีโกงย่อมตกอุสสทนรก (สังกิจจชาดก) 62/163/16 62/150/9 |
906 | การกล่าวตู่ผู้อื่นด้วยคำไม่จริง มีผลทำให้ถูกกล่าวตู่ในชาติต่อไป (สัพพลหุสสูตร) 37/495/14 37/411/15 |
907 | ผู้วินิจฉัยคดีโดยธรรม (ธัมมัฏฐวรรควรรณนา) 43/68/17 43/54/4 |
908 | พระธนิยะไปให้การเรื่องไม้หลวง 4 - 5 (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 02/04/112/4/11 2/4/5 |
909 | พระปิลินทวัจฉะไปให้การเพื่อเปลื้องคนวัดจากเรื่องมาลัยทองคำ (เภสัชชขันธกะ) 7/77/18 7/75/3 |
910 | การนั่งที่เว้นโทษ 6 ประการ (เวรัญชกัณฑวรรณา) 1/221/16 1/208/19 |
911 | ไม่ควรแสดงธรรมแก่บุคคลที่ไม่ป่วย ผู้นั่งที่สูงกว่า (ปาทุกาวรรค สิกขาบทที่ ๙) 4/938/7 4/947/16 |
912 | เมื่อยืนอยู่ไม่ควรแสดงธรรมแก่บุคคลที่ไม่ป่วย ผู้นั่งอยู่ (ปาทุกาวรรค สิกขาบทที่ ๑๐) 4/940/19 4/950/10 |
913 | พิธีเผาศพแบบง่ายๆ (อ.อุรคชาดก) 58/735/7 58/538/7 |
914 | ยกศพขึ้นสู่เชิงตะกอน แล้วเผาได้เลย (เรื่องจุลกาลและมหากาล) 40/99/1 40/74/13 |
915 | เผาศพพระอรหันต์ไม่มีพิธีมาก (เรื่องทารุจีริยเถระ) 41/431/17 41/357/19 |
916 | แม้ศพราชินีก็ไม่ควรเก็บไว้นาน (นารทสูตร) 36/121/11 36/118/8 |
917 | แม้สวดกุสลามาก หากผู้ตายไม่ทำความดีก็ไปนรก (ภูมกสูตร) 29/190/15 29/181/11 |
918 | การเอาเงินให้ผู้ตาย มีที่มาจากพวกพราหมณ์ (อ.สุภสูตร) 21/444/5 21/418/4 |
919 | ธรรมเนียมการล้างกระดูก พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นของเลว (โธวนสูตร) 38/347/9 38/348/7 |
920 | อานิสงส์ของการจัดการศพคนอนาถา (อ.มหาขันธกะ ยสวัตถุ) 6/75/14 6/235/14 |
921 | พระคุณของ พุทธ - ธรรม - สงฆ์ หาประมาณไม่ได้ (อหิสูตร) 35/216/6 35/223/6 |
922 | ผลของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระคุณของพระพุทธเจ้าก็หาประมาณไม่ได้ * ดังนั้นการใช้อำนาจ พุทธ - ธรรม - สงฆ์ ในการอธิษฐานย่อม สำเร็จผล. (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/149/13 1/142/1 |
923 | การระลึกถึงคุณ พุทธ- ธรรม- สงฆ์ แล้วทำสัจจอธิษฐานของนกคุ้มมิให้ไฟไหม้. (วัฏฏกโปตกจริยา) 74/474/9 74/367/15 |
924 | บุคคลร่วมกันอธิษฐานเพื่อให้พิษงูแล่นออกจากร่างกายของเด็ก(อ.กัณหทีปายนจริยา) 74/503/6 74/389/25 |
925 | การตั้งสัตยาธิษฐานของพ่อแม่ เพื่อช่วยชีวิตของสามบัณฑิต (อ.สุวรรณสามจริยา) 74/532/5 74/412/8 |
926 | การกระทำสัจจอธิษฐานของมฆมาณพ (อ.สักกปัญหสูตร) 14/165/9 14/161/23 |
927 | พระสารีบุตรอธิษฐานให้เทวดาในหมื่นจักรวาล ให้ได้ยิน ได้เห็น ท่าน (อ.สมจิตตวรรคสูตรที่5) 33 / 374 / 14. (อ.สมจิตตวรรคสูตรที่ ๕) 33/374/14 33/334/3 |
928 | พระโมคคัลลานะอธิษฐานให้นรกเย็น (อ.เอตทัคคบาลีวรรค สูตรที่ ๑) 32/239/4 32/202/25 |
929 | ว่าด้วยเรื่องฤทธิ์ ๑๐ อย่าง : ฤทธิ์ที่อธิษฐาน (ปัญญาวรรค อิทธิกถา) 69/706/8 69/715/10 |
930 | บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ (อ.จิตตุปปาทกัณฑ์) 75/427/15 75/403/1 |
931 | ทิ้งของโสโครกก็อุทิศบุญได้ (ชัปปสูตร) 34/228/16 34/236/23 |
932 | พึงอุทิศบุญให้แก่สัตว์ทั้งปวง (ท้าวสักกะขอส่วนบุญ) 43/328/9 43/251/12 |
933 | จุลินทรีย์ ไวรัส แบคทีเรีย (กิมิชาติ) 65/242/8 65/197/16 |
934 | กิมิชาติ(หนอน) 80 ตระกูล (อ.ขันธวิภังคนิเทศ) 77/78/3 77/71/20 |
935 | พระพุทธองค์กล่าวว่า บุญเป็นชื่อของความสุข (ปุญญวิปากสูตร) 37/192/3 37/158/1 |
936 | เทวดาทำบุญให้เปรต (อ.มหาเปสการเปติวัตถุ) 49/90/16 49/69/17 |
937 | เปรตทำบุญแล้วได้เปลี่ยนสภาพ เป็นเทวดาไปอยู่ ชั้นดาวดึงส์ (อ.ขัลลาติยเปติวัตถุ) 49/104/17 49/80/16 |
938 | การให้ส่วนบุญ...บุญไม่หมดมีแต่ยิ่งเพิ่มขึ้น (อ.จิตตุปปาทกัณฑ์) 75/429/18 75/404/22 |
939 | การให้ส่วนบุญ ได้บุญมากขึ้น (สุมนสามเณร) 43/398/18 43/306/12 |
940 | ปุญญาภิสังขารเป็นทุกข์พิเศษ (อ.ปฏิจจสมุปปาทวิภังค์) 77/474/7 77/422/3 |
941 | พระพุทธเจ้าบอกสาวก ให้แสดงธรรม เพื่อปิดประตูอบายแก่ชาวโลก . . (อ.รัตนจังกมนกัณฑ์) 73/52/14 73/44/5 |
942 | กุศลกรรมที่มีกำลังย่อมทับถมชนะบาปได้ (อธิบายพหุลกรรม) 34/124/8 34/128/5 |
943 | บุญสามารถปิดบาปที่กำลังให้ผลอยู่ -ผลบุญของลูกสาวเศรษฐี (พรรณนามิโคอรัญญคาถา) 70/310/8 70/279/1 |
944 | -ลูกสาวเศรษฐีผู้มีกลิ่นตัวเหม็น (อ.มหากัสสปเถรคาถา) 53/346/12 53/328/3 |
945 | -เจ้าหญิงโรหิณีหายจากการเป็นโรคผิวหนัง (เรื่องเจ้าหญิงโรหิณี) 42/426/6 42/361/5 |
946 | บุญสามารถปิดบาปที่จะให้ผลในภพต่อไป -อีก 4 เดือนจะต้องตกนรกจึงทำบุญแล้วได้ไปสวรรค์ (อ.ขัลลาฏิยเปติวัตถุ) 49/102/7 49/78/14 |
947 | -พระเถระผู้เคยเป็นนายพราน (อ.พหุธาตุกสูตร) 22/329/10 22/309/1 |
948 | -เรื่องคนเฝ้าประตูชาวทมิฬ (อ.นิทานสูตร) 34/127/19 34/131/14 |
949 | -หญิงยากไร้ผู้เคยเป็นแม่พระมหากัสสปะ (อ.อาจามทายิกาวิมาน) 48/171/17 48/155/15 |
950 | ผู้ทำบาปไว้มากแต่ไม่ได้ไปนรก (เรื่องบุรุษผู้ฆ่าโจรมีเคราแดง) 41/422/1 41/349/8 |
951 | ผู้ใดทำบาปมากแล้วย่อมปิดได้ด้วยบุญ (อังคุลิมาลสูตร) 21/150/21 21/144/12 |
952 | การปฏิบัติเพื่อก้าวล่วงบาปกรรม (อสังขาสูตร) 29/203/1 29/192/1 |
953 | บุญรักษาไว้ไม่ให้ไปรับบาปหลายแสนกัลป์ (อ.อากังเขยยสูตร) 17/419/12 17/337/17 |
954 | -ผู้ปิดบาปไว้ตลอดแสนกัป จนได้รับผลอันเลิศ (เอกทุสสทายกเถราปทาน) 71/799/4 71/727/5 |
955 | พระคุณของ พุทธ - ธรรม - สงฆ์ หาประมาณไม่ได้ (อหิสูตร) 35/216/6 35/223/6 |
956 | ผลของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระคุณของพระพุทธเจ้าก็หาประมาณไม่ได้ * ดังนั้นการใช้อำนาจ พุทธ - ธรรม - สงฆ์ ในการอธิษฐานย่อม สำเร็จผล. (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/149/13 1/142/1 |
957 | วิธีแก้ผีสิง (อ.อาฏานาฏิยสูตร) 16/154/17 16/138/21 |
958 | มารสิงพรหม (พรหมนิมันตนิกสูตร) 19/442/9 19/430/16 |
959 | มารเข้าท้องพระอรหันต์ (มารตัชชนียสูตร) 19/465/4 19/453/11 |
960 | อนุญาตเขตให้ฆ่า (อ.อาฬวกสูตร) 46/443/8 46/367/3 |
961 | การสิงเพราะหวังดีก็มี (อ.สานุสูตร) 25/400/23 25/362/7 |
962 | การสิงเพราะเหตุแห่งที่อยู่ (พระติสสเถระฯ) 43/475/9 43/364/16 |
963 | ไม่สิงแต่ส่งสัญญาณ (อ.เจติยสูตร) 31/132/16 31/134/14 |
964 | มารดลใจไม่ให้ใส่บิณฑบาต (ปิณฑิกสูตร) 25/45/2 25/37/13 |
965 | ยักษ์บิดคอคน (อ.มาตังคชาดก) 61/20/2 61/18/7 |
966 | รบกวนเพราะเหตุแห่งที่อยู่ (อ.เมตตสูตร) 39/333/10 39/323/4 |
967 | มารแปลงกายเพื่อทำลายศรัทธา (อ.สาฏิมัตติกเถรคาถา) 51/279/4 51/274/8 |
968 | มารแปลงกายเพื่อทำลายศรัทธา (อ.อัคคัญญสูตร) 15/174/17 15/170/16 |
969 | มนุษย์เปรต (1) (อ.มหากปิชาดก) 61/442/2 61/394/23 |
970 | มนุษย์เปรต (2) (อ.อินทริยชาดก) 59/566/6 59/394/1 |
971 | บอกเทวดาก่อนตัดต้นไม้ (อ.ภัททสาลชาดก) 60/124/4 60/116/21 |
972 | กำหนดเขตให้ฆ่า (อ.ปทกุสลมาณวชาดก) 59/665/11 59/460/13 |
973 | พระพุทธเจ้าบอกอุบายเบื้องต้นของการทำพระปริตร (อายุวัฒนกุมาร) 41/461/8 41/380/20 |
974 | พระพุทธเจ้าสั่งให้เรียนอาฎานาฏิยรักษ์เพื่อความอยู่สบายแห่งพุทธบริษัท . (อาฏานาฏิยสูตร) 16/140/13 16/125/6 |
975 | เรื่องการทำพระปริตร (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/435/1 2/416/1 |
976 | การสวดปริตรควรสวดบทไหนก่อน (อ.อาฏานาฏิยสูตร) 16/154/17 16/138/22 |
977 | วิธีป้องกันอมนุษย์ ด้วยบทอาฏานาฏิยรักษ์ (อาฏานาฏิยสูตร) 16/125/1 16/112/20 |
978 | บทเมตตาสูตร (เมตตสูตร) 39/328/3 39/318/7 |
979 | บทรัตนสูตร (รัตนสูตร) 39/215/3 39/208/1 |
980 | สวดพระปริตรเพื่อหวังในลาภไม่สำเร็จประโยชน์ (อ.อาฏานาฏิยสูตร) 16/153/17 16/137/24 |
981 | การสวดพระปริตรย่อมสำเร็จประโยชน์แก่ผู้ตั้งอยู่ในฝ่ายแห่งการออกไปจากทุกข์มีเมตตาเป็นเบื้องต้นแล้วกล่าวอยู่ (อ.อาฏานาฏิยสูตร) 16/153/18 16/137/25 |
982 | ผีเข้าสิงภิกษุ ภิกษุไม่พึงทุบตีแก่ภิกษุผู้ถูกผีสิง พึงเอาใบตาลหรือเส้นด้ายปริตรผูกไว้ที่มือ หรือเท้า แล้วสวดปริตร (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/442/8 2/423/8 |
983 | พระปัจเจกพุทธเจ้าทำปริตร (อ.เตลปัตตชาดก) 56/359/14 56/266/21 |
984 | แม้จะสวดมนต์อ้อนวอน หากไม่ทำความดี เมื่อตายก็ไปอบาย (ภูมกสูตร) 29/190/15 29/181/14 |
985 | ภิกษุฆ่ายักษ์ต้องถุลลัจจัย (ตติยปาราชิกวรรณนา) 2/440/1 2/420/21 |
986 | ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร) 6/44/9 6/19/4 |
987 | อนัตตลักขณสูตร (มหาขันธกะสูตร) 6/52/2 6/25/6 |
988 | อาทิตตปริยายสูตร (อาทิตตปริยายสูตร) 6/105/2 6/60/23 |
989 | รัตนสูตร (รัตนสูตร) 39/215/4 39/208/4 |
990 | ติโรกุฑฑสูตร (ติโรกุฑฑสูตร) 39/276/4 39/268/4 |
991 | นิธิกัณฑสูตร (นิธิกัณฑสูตร) 39/302/1 39/293/1 |
992 | เมตตสูตร (เมตตสูตร) 39/328/4 39/318/10 |
993 | ธชัคคสูตร (ธชัคคสูตร) 25/466/8 25/421/20 |
994 | สรณะที่เกษมและไม่เกษม (ปุโรหิตชื่ออัคคิทีต) 42/346/13 42/294/6 |
995 | อหิสูตร (ว่าด้วยแผ่เมตตาจิตไปถึงตระกูลพระยางู) (อหิสูตร) 35/214/12 35/222/3 |
996 | ปาฏลิคามิยสูตร (ปาฏลิคามิยสูตร) 44/755/3 44/704/10 |
997 | มงคลสูตร (มงคลสูตร) 39/117/2 39/116/2 |
998 | พระพุทธเจ้าให้กล่าวธรรม - วินัย ด้วยภาษาที่เข้าใจ (อรณวิภังคสูตร) 23/329/20 23/308/22 |
999 | สวดมนต์แล้วต้องรู้เรื่อง - รู้ความหมาย (อ.มูลปริยายสูตร) 17/21/3 17/19/18 |
1000 | สวดมนต์ไม่ถูกหลักภาษามคธ เป็นการทำลายศาสนา (สุคตสูตร) 35/381/18 35/398/17 |
1001 | สวดมนต์ไม่รู้เรื่อง มีโทษสิ้นกาลนาน (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/51/10 1/398/17 |
1002 | ทำท่าสวดมนต์เพื่อลวงโลก (อ.ปุสสเถรคาถา) 53/218/1 53/207/19 |
1003 | ท่องจำถูกต้องแล้วนำไปปฏิบัติ...พุทธเจ้าสรรเสริญ (อ.สัชฌายสูตร) 25/374/16 25/337/18 |
1004 | เทวดาไม่ยินดีกับเสียงสวดมนต์แบบไม่รู้เรื่อง (พระเอกุทานเถระ) 43/73/1 43/57/7 |
1005 | ทำบุญกับพระทุศีล....ไม่ได้บุญ (อ.ทักขิณาวิภังคสูตร) 23/409/21 23/387/3 |
1006 | ทำบุญกับนักบวชไม่มีศีล...ไม่ได้บุญ (จูฬเสฏฐีเปตวัตถุ) 49/223/12 49/174/5 |
1007 | คบภิกษุชั่ว...ไปนรกด้วยกัน (อ.เภทสูตร) 45/128/22 45/125/7 |
1008 | ภิกษุพาล...ย่อมพาโยมลงนรก (อ.มงคลสูตร) 39/173/11 39/169/8 |
1009 | บอกว่าตนเองเป็นพระ...แต่ไม่ใช่พระ (คัทรภสูตร) 34/448/3 34/459/3 |
1010 | ภิกษุทุศีล...คือเสี้ยนหนามของชาวบ้าน (ฉัปปาณสูตร) 28/497/8 28/471/14 |
1011 | สนับสนุนผู้ทุศีล...ย่อมถึงความพินาศ (อ.สัญชีวชาดก) 56/613/6 56/455/24 |
1012 | คบหากับพระทุศีล เหมือนจับงูพิษเปื้อนขี้ (อ.ชิคุจฉิตัพพสูตร) 34/89/17 34/92/14 |
1013 | วิธีปฏิบัติตัวต่อพระทุศีล (โกสัมพิขันธกะ) 7/480/8 7/457/19 |
1014 | ห้ามคบหากับภิกษุทุศีล (มหาขันธกะ) 6/351/4 6/189/17 |
1015 | ใส่บาตรให้พระทุศีล ต้องตกนรก (อ.วสภเถรคาถา) 51/47/8 51/46/8 |
1016 | ภิกษุมีเงิน - ทอง แม้ผู้อื่นเก็บไว้ให้...ผิด (โกสิยวรรคสิกขาบทที่ ๘) 3/940/17 3/887/18 |
1017 | ภิกษุทำการซื้อและการขาย...ผิด (โกสิยวรรคสิกขาบทที่ ๙) 3/959/18 3/905/15 |
1018 | ภิกษุทำการแลกเปลี่ยน...ผิด (โกสิยวรรคสิกขาบทที่ ๑๐) 3/974/7 3/919/2 |
1019 | สิ่งของที่ซื้อมาจากเงินที่พระรับ ของนั้นไม่ควรแม้แก่สหธรรมิกทั้ง ๕ และวิธีจัดการกับสิ่งของนั้น (อ.โกสิยวรรคสิกขาบทที่ ๙) 3/969/1 3/914/3 |
1020 | ภิกษุประกอบการหาผลกำไร ต้องอาบัติทุกกฏ (อ.โกสิยวรรคสิกขาบทที่ ๙) 3/968/11 3/913/23 |
1021 | ปัจจัยที่ได้จากเงิน - ทอง ที่ภิกษุรับ ไม่ควรแก่เธอผู้รับ (อ.โกสิยวรรคสิกขาบทที่ ๘) 3/949/3 3/895/17 |
1022 | วิธีการสมมติภิกษุผู้ทิ้งเงิน - ทอง (โกสิยวรรคสิกขาบทที่ ๘) 3/943/7 3/890/4 |
1023 | ว่าด้วยกัปปิยการกและไวยาวัจกร (อ.จีวรวรรคสิกขาบทที่ ๑๐) 3/859/18 3/810/17 |
1024 | วิธีปฏิบัติในเรื่องเงิน - ทองที่มีผู้ถวาย (อ.จีวรวรรคสิกขาบทที่ ๑๐) 3/863/13 3/813/23 |
1025 | วิธีปฏิบัติในบึงและสระน้ำเป็นต้นที่มีผู้ถวาย . (เรื่องนางอนุฬาเทวีถวายสระคืนด้วยโวหารที่สมควร) 3/865/13 3/815/16 |
1026 | วิธีปฏิบัติในพืชผลที่ได้เพราะอาศัยสระน้ำของวัดเป็นต้น . (อ.จีวรวรรคสิกขาบทที่ ๑๐) 3/868/13 3/818/5 |
1027 | วิธีปฏิบัติในทาส คนวัดและปศุสัตว์ที่มีผู้ถวาย (อ.จีวรวรรคสิกขาบทที่ ๑๐) 3/872/16 3/821/17 |
1028 | ภิกษุที่แสวงหาเงิน - ทอง มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร (สัตตสติกขันธกะ) 9/536/14 9/524/10 |
1029 | ทอง - เงินไม่ควรแก่สมณศากยบุตร (มณิจูฬกสูตร) 29/213/9 29/201/5 |
1030 | เขาถวาย เงิน ทองแก่สงฆ์เพื่อบริโภคปัจจัย 4 ถ้าสงฆ์รับเป็นอาบัติทั้งรับ และทั้งบริโภค (อ.จีวรวรรคสิกขาบทที่ ๑๐) 3/864/10 3/814/17 |
1031 | ภิกษุจะรับนิสสัคคิยวัตถุ เพื่อประโยชน์ตนเอง หรือสงฆ์ คณะ บุคคล และเจดีย์เป็นต้น ย่อมไม่ควร (อ.โกสิยวรรคสิกขาบทที่ ๘) 3/946/13 3/893/12 |
1032 | พระเจ้าพิมพิสารถวายคนวัด (เภสัชขันธกะ) 7/77/12 7/74/20 |
1033 | วิธีปฏิบัติในทาส - คนวัด และปศุสัตว์ที่มีผู้ถวาย (อ.จีวรวรรคสิกขาบทที่ ๑๐) 3/872/16 3/821/17 |
1034 | เรื่องพระให้อามิสตามลำดับแก่ภิกษุณี จนถึงบุคคลอื่น (ภิกขุนีขันธกะ) 9/468/14 9/459/4 |
1035 | เรื่องให้ของแก่คนวัด - ไวยาวัจกร - ชาววัด - บิดามารดา - ราชา- โจร . (อ.สังคีติสูตร) 16/282/17 16/270/26 |
1036 | ให้เบี้ยเลี้ยงแก่อารามิกชน (ปัญจวัคควัณณนา) 10/1002/18 10/914/9 |
1037 | วิธีแสดงไวยาวัจกรแก่คนผู้ต้องการถวายเงินค่าจีวร (อ.จีวรวรรคสิกขาบทที่ ๑๐) 3/859/18 3/810/16 |
1038 | ไม่พึงสมมติภิกษุสามเณรผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ให้เป็นผู้ใช้คนวัด 36/510/7 36/503/20 |
1039 | เรื่องถวายราชสมบัติแก่พระ (อ.มหาสัจจกสูตร) 19/146/14 19/151/17 |
1040 | อานิสงส์การเป็นคนวัด พระสัญชัย ท่านเคยเป็นไวยาวัจกร (อ.สัญชัยเถรคาถา) 50/265/7 50/258/19 |
1041 | - พระทาสกะ ท่านเคยเป็นผู้ปฏิบัติวิหาร (อ.ทาสกเถราปทาน) 50/143/11 50/140/4 |
1042 | - พระวัจจกะ ท่านเคยเป็นไวยาวัจกร (วัจจกเถราปทาน) 71/348/4 71/324/4 |
1043 | - พระอุปัฏฐายิกะท่านเคย ถวายคนอุปฐาก (อุปัฏฐายิกเถราปทาน) 71/728/1 71/661/7 |
1044 | - อเนกวรรณเทพบุตร เคยเป็นผู้บำรุงเจดีย์ (อเนกวัณณวิมาน) 48/619/14 48/571/18 |
1045 | อธิบายคำว่า อบาย 4 (อ.เวรัญชกัณฑ์) 1/301/19 1/283/9 |
1046 | -คำว่า อบาย เป็นไวพจน์ของนรกทั้งหมด. . (อ.ปาฏลิคามิยสูตร) 44/770/17 44/718/17 |
1047 | สัตว์ย่อมคบค้ากันโดยธาตุ,ว่าด้วยกรรมบถ 10 (ทสกมมปถสูตร) 26/470/1 26/430/21 |
1048 | การเข้านิโรธสมาบัติ (อ.นิโรธสมาปัตติญาณนิทเทส) 68/887/18 68/620/6 |
1049 | ครุธรรม 8 ประการ ของภิกษุณี (ภิกขุนีขันธกะ) 9/444/16 9/435/15 |
1050 | ธรรม 6 ประการ ของนางสิกขมานา (ปาจิตติยกัณฑ์ สิกขาบทที่ ๓) 5/392/1 5/368/24 |
1051 | สัปปุริสทาน 8 ประการ (ปฐมสัปปุริสทานสูตร) 37/488/1 37/405/3 |
1052 | ธรรม สำหรับ อุบาสกดี และ อุบาสกชั่ว (จัณฑาลสูตร) 36/373/1 36/368/1 |
1053 | สมัยที่ไม่ควร บำเพ็ญเพียร 5 ประการ (สมยสูตร) 36/129/15 36/127/1 |
1054 | สมาบัติเป็นภัยอุบาทก์ (อุปสีวมาณวกปัญหานิทเทส) 67/190/5 67/178/21 |
1055 | การพิจารณาอารมณ์แล้วพิจารณาเห็นความแตกไป (ภังคานุปัสสนาญาณนิทเทส) 68/692/10 68/478/10 |
1056 | การพิจารณา วิปัสสนูปกิเลส (อ.ขัคควิสาณสุตตนิทเทส) 67/648/4 67/485/9 |
1057 | โพธิปักขิยธรรม 37 ประการ เรียกว่า เอกายนมรรค (สารีปุตตสุตตนิทเทสที่ ๑๖) 66/547/3 66/511/11 |
1058 | ปัพพาชนียกรรม (ขับออกจากหมู่) พวกภิกษุผู้ประพฤติอนาจาร (กัมมขันธกะ) 8/45/1 8/44/15 |
1059 | - วิธีทำปัพพาชนียกรรม (กัมมขันธกะ) 8/55/9 8/53/13 |
1060 | - ลักษณะกรรมไม่เป็นธรรม ๑๒ หมวด (กัมมขันธกะ) 8/58/6 8/56/1 |
1061 | - ลักษณะกรรมเป็นธรรม ๑๒ หมวด (กัมมขันธกะ) 8/62/4 8/60/1 |
1062 | - ข้อที่สงฆ์จำนง ๑๔ หมวด (กัมมขันธกะ) 8/66/1 8/64/1 |
1063 | - วัตร ๑๘ ข้อในปัพพาชนียกรรม (กัมมขันธกะ) 8/70/16 8/69/1 |
1064 | - วัตรที่ไม่ควรระงับ ๑๘ ข้อ ๓ หมวด (กัมมขันธกะ) 8/74/1 8/72/1 |
1065 | - วัตรที่ควรระงับ ๑๘ ข้อ ๓ หมวด (กัมมขันธกะ) 8/75/15 8/74/1 |
1066 | - วิธีระงับปัพพาชนียกรรม (กัมมขันธกะ) 8/77/10 8/75/15 |
1067 | พระอุบาลีทูลถามปัพพาชนียกรรม(การขับออกจากหมู่) ที่เป็นธรรม หรือไม่เป็นธรรม . (จัมเปยยขันธกะ) 7/403/1 7/384/1 |
1068 | สงฆ์ที่ทำกรรมไม่เป็นธรรม สงฆ์นั้นย่อมมีโทษ (จัมเปยยขันธกะ) 7/403/22 7/385/9 |
1069 | ธรรมฝ่ายดำและธรรมฝ่ายขาว ๙ อย่าง (สมถขันธกะ) 8/505/14 8/453/5 |
1070 | ทำกรรมต่างๆลับหลัง พระพุทธเจ้าติเตียนว่าเป็นการกระทำของโมฆบุรุษ รูปใดทำต้องอาบัติทุกกฏ (สมถขันธกะ) 8/505/8 8/452/18 |
1071 | ภิกษุที่บริสุทธิ์ไม่มีอาบัติ อันภิกษุไม่พึงยกเสียเพราะเรื่องไม่สมควร เพราะเหตุไม่สมควร รูปใดยกต้องอาบัติทุกกฏ (จัมเปยยขันธกะ) 7/379/9 7/363/3 |
1072 | พระพุทธองค์ไม่อนุญาตการทำกรรมที่ไม่เป็นธรรม (จัมเปยยขันธกะ) 7/382/4 7/365/22 |
1073 | ควรอนุวัตรตามในกรรมที่เป็นธรรมอย่างอื่นได้ แต่ในกรรมที่ไม่เป็นธรรมไม่ควรอนุวัตรตามแก่ใครๆ (อ.วัสสูปนายิกขันธกะ) 6/516/6 6/509/15 |
1074 | หน้าที่ของโจทก์ (อุปาลิปัญจกะ) 10/794/8 10/723/1 |
1075 | ข้อปฏิบัติของโจทก์และจำเลย (โจทนากัณฑ์) 10/677/18 10/615/19 |
1076 | คุณสมบัติของภิกษุผู้เป็นโจทก์ และคุณสมบัติผู้ถูกโจทก์ (โจทนาสูตร) 36/354/14 36/350/6 |
1077 | การส่งทูต,ส่งหนังสือ,ข่าวสาสน์ไปโจทก์ การโจทก์นั้น ไม่เป็นอันโจทก์. (อ.สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๘) 3/499/21 3/474/26 |
1078 | ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ 8 ควรทำหน้าที่ทูต (สังฆเภทขันธกะ) 9/309/11 9/304/17 |
1079 | โจทก์ต้องขอโอกาสต่อจำเลย..ไม่ขอต้องทุกกฏ (อุโบสถขันธกะ) 6/441/12 6/366/1 |
1080 | องค์ของภิกษุผู้ไม่ควรให้โอกาส (อุปาลิปัญจกะ) 10/795/13 10/724/3 |
1081 | องค์ของภิกษุผู้ควรให้ทำโอกาส (อุปาลิปัญจกะ) 10/796/5 10/724/15 |
1082 | ภิกษุทั้งหลายแสดงพระศาสนานอกธรรมวินัย ในกรรมนั้นความเห็นแย้งใช้ไม่ได้ สงฆ์พึงห้ามเธอเสีย พึงให้เธอหลีกไป (อุปาลิปัญจกวัณณนา) 10/864/1 10/790/3 |
1083 | เหตุให้เกิดสังฆเภท ๑๘ ประการ (สังฆเภทขันธกะ) 9/317/5 9/311/19 |
1084 | องค์ของภิกษุผู้ไม่ ควรระงับอธิกรณ์ และผู้ควรระงับอธิกรณ์ (อุปาลิปัญจกะ) 10/833/15 10/761/2 |
1085 | องค์คุณ ๑๐ ประการของผู้ควรระงับอธิกรณ์ (สมถขันธกะ) 8/579/3 8/518/12 |
1086 | วิธีให้สติวินัย (สมถขันธกะ) 8/588/16 8/526/17 |
1087 | อธิกรณ์เกิดขึ้นที่ใด เมื่ออธิกรณ์ระงับแล้วจึงควรไปสู่ที่อื่น (เรื่องของพระองค์) 43/227/13 43/175/10 |
1088 | เมื่อมีผู้กล่าวติเตียน พุทธ ธรรม สงฆ์ พระพุทธองค์ให้ชี้แจงตามความเป็นจริง . (พรหมชาลสูตร) 11/3/14 11/3/10 |
1089 | พระพุทธเจ้าให้ขับสมณะขี้แกลบออกจากหมู่ (กรัณฑวสูตร) 37/326/14 37/272/13 |
1090 | ภิกษุแจ้งจับผู้อื่น หากเขาถูกปรับ ไม่เสียค่าปรับให้เขา ภิกษุนั้นต้องอาบัติ-ปาราชิก (อ.สัตตรสกัณฑ์ สิกขาบทที่ ๑) 5/48/9 5/45/11 |
1091 | ภิกษุตู่เอาที่ไร่ที่นา ภิกษุฟ้องร้องยังโรงศาล เมื่อทำไม่ถูกวินัยย่อมมีโทษ . (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/20/11 2/19/2 |
1092 | ภิกษุทำลายของโจรแม้อยู่ในวัดก็ไม่ควร เป็นสินใช้ (อ.สัตตรสกัณฑ์ สิกขาบทที่ ๑) 5/48/15 5/45/17 |
1093 | ในกรณีภิกษุถูกฟ้อง ภิกษุไปให้การได้ ไม่ต้องอาบัติ (อ.สัตตรสกัณฑ์ สิกขาบทที่ ๑) 5/46/1 5/43/6 |
1094 | โทษของการด่าและติเตียน พระอริยะ 11 ประการ (พยสนสูตร) 38/514/9 38/515/9 |
1095 | ประทุษร้ายผู้มีศีลย่อมวิบัติ : พระเจ้าปเสนทิโกศลรับสินบน (อ.ภรุราชชาดก) 57/333/3 57/253/18 |
1096 | จุดประสงค์ที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติการทำกรรมต่างๆในสงฆ์ (อ.พระสูตร) 33/509/3 33/489/13 |
1097 | อันตรายพึงมีแก่ผู้ขุ่นเคือง น้อยใจ ในเมื่อมีคนติเตียน พุทธ ธรรม สงฆ์ . (พรหมชาลสูตร) 11/3/14 11/3/10 |
1098 | ภิกษุผู้คัดค้านการทำกรรมอันไม่เป็นธรรม...ภิกษุนั้นเป็นธรรมวาที (จัมเปยยขันธกะ) 7/424/3 7/404/16 |
1099 | ภิกษุพวกฉัพพัคคีย์ ชวนกันออกไปนอกสีมา แล้วสมมุติกันให้เป็นผู้สอนภิกษุณี . (โอวาทวรรค สิกขาบทที่ ๑) 4/359/13 4/373/1 |
1100 | มีความว่า พาภิกษุผู้ถูกยกวัตรนั้นไปนอกสีมา ให้แสดงอาบัติแล้วเรียกเข้าหมู่ . (อ.โกสัมพิขันธกะ) 7/503/13 7/480/15 |
1101 | อาปัตตาธิกรณ์และกิจจาธิกรณ์ ต้องระงับด้วย สัมมุขาวินัย (สมถขันธกะ) 8/598/1 8/534/17 |
1102 | วิธีเสียสละเงินทอง ในท่ามกลางสงฆ์ (โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๘ ) 3/942/6 3/889/6 |
1103 | การรับภิกษุผู้ถูกสงฆ์ยกวัตรเข้าหมู่ (โกสัมพิขันธกะ) 7/488/3 7/465/21 |
1104 | คำว่าพร้อมหน้าสงฆ์ในสัมมุขาวินัย (สมถขันธกะ) 8/575/7 8/515/12 |
1105 | พระพุทธเจ้าอนุญาตเสนาสนะ ๕ มี วิหาร , เรือนมุงแถบเดียว , เรือนชั้น ,เรือนโล้น , ถ้ำ (เสนาสนขันธกะ) 9/106/7 9/111/3 |
1106 | ของที่ไม่ควรแจก ๕ หมวด (เสนาสนขันธกะ) 9/151/16 9/155/12 |
1107 | เงิน - ทอง เป็นวัตถุต้องห้ามทั้งแก่สงฆ์ - คณะ- บุคคล (โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๘) 3/940/6 3/887/7 |
1108 | สิ่งของที่ได้มาจากการซื้อด้วยเงินที่ผิดวินัย...สิ่งของนั้นไม่ควรแก่ภิกษุผู้เป็นเจ้าของเงิน (อ.โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๘) 3/949/4 3/895/17 |
1109 | สิ่งของที่พระซื้อเองด้วยเงินที่ผิดวินัย....ย่อมไม่ควรแม้แก่สหธรรมิกทั้ง 5 . (อ.โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๙ ) 3/968/14 3/914/1 |
1110 | สิ่งของที่พระรับไม่ถูกวินัยโยมสามารถริบคืนได้โดยไม่ผิด เรื่องสระน้ำของพระนาง-อนุฬาเทวี (อ.จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๑๐) 3/867/18 3/817/14 |
1111 | พระพุทธเจ้าสั่งให้ทำลายกุฏิ ซึ่งทำจากดินล้วนๆ (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 2/2/15 2/2/16 |
1112 | พระพุทธเจ้าสั่งให้ทุบเสนาสนะที่ผิดวินัย (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/83/20 2/82/16 |
1113 | พระพุทธเจ้าสั่งให้ทำลายบาตรไม้จันทน์ (ขุททกวัตถุขันธกะ) 9/13/8 9/15/21 |
1114 | ของใช้ที่ไม่ควรแก่สมณะพึงทำลายหรือทำให้ถูกต้องตามธรรมวินัยเสียก่อนแล้วจึงนำมาใช้ (เสนาสนขันธกะ) 9/15/6 9/154/1 |
1115 | เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ได้มีการสร้างสถูปเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุให้พุทธศาสนิกชนบูชา และรำลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า โดยไม่มีการสร้าง พระพุทธรูป (มหาปรินิพพานสูตร) 13/333/15 13/326/22 |
1116 | พระพุทธเจ้าตรัสถึง บุคคลผู้สมควรนำกระดูกบรรจุสถูปไว้บูชามี 4 จำพวกเท่านั้น (ถูปารหสูตร) 35/612/2 35/635/3 |
1117 | ถูปารหบุคคล 4 (มหาปรินิพพานสูตร) 13/310/15 13/302/11 |
1118 | เจดีย์ 3 ที่พระพุทธเจ้าให้เคารพ (อ.กาลิงคชาดก) 60/267/13 60/250/9 |
1119 | พระพุทธเจ้าให้ถือเจดีย์ คือ ธรรม (ธรรมเจติยสูตร) 21/202/5 21/192/3 |
1120 | ธรรมวินัย คือ ตัวแทนพระศาสดา (มหาปรินิพพานสูตร) 13/320/16 13/313/6 |
1121 | รูปเหมือนของพระพุทธเจ้าไม่มี : อัปปฏิโม (อ.เอกปุคคลวรรค สูตรที่ ๕) 32/214/6 32/181/18 |
1122 | ศิลปินหรือผู้มีฤทธิ์ทั้งปวง ในโลก ไม่สามารถสร้างรูปเปรียบพระพุทธเจ้าได้ . (อ.มหาปทานสูตร) 13/121/13 13/116/19 |
1123 | ผู้ถือร่างกายของพระพุทธเจ้าว่า ประเสริฐ เป็นการกล่าวตู่พุทธองค์ . (พาลวรรค สูตรที่ ๒) 33/346/18 33/307/13 |
1124 | ผู้ใดยินดี - เพลิดเพลินในโลหะทั้งหลาย...พระพุทธเจ้าตรัสว่าผู้นั้นยินดีในทุกข์ . (อ.มูลปริยายสูตร) 17/67/1 17/56/11 |
1125 | ผู้ยึดติด อาลัยในวัตถุใด เมื่อตายแล้วต้องเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉานเฝ้าวัตถุนั้น - เรื่องพระติสสะเกิดเป็นเล็นเฝ้าจีวร (พระติสสเถระ) 43/17/8 43/14/6 |
1126 | - ญาติของพระภัททชิเกิดเป็น ปลา-เต่า เฝ้าปราสาท (อ.ภัททชิเถรคาถา) 51/107/13 51/106/2 |
1127 | พระพุทธเจ้าเล็งเห็นโทษของผู้ยึดติดในรูปร่างทั้งหลาย (อาทิตตปริยายสูตร) 28/357/1 28/352/9 |
1128 | ผู้ที่มีความเห็นแย้งกับพระพุทธเจ้าย่อมประสบบาปเป็นอันมาก (อลคัททูปมสูตร) 18/284/11 18/268/8 |
1129 | สาวกที่ประพฤติหลีกเลี่ยงคำสอนของพระพุทธเจ้า ชื่อว่าเรียกร้องพระองค์ด้วยความเป็นศัตรู (มหาสุญญตสูตร) 23/24/12 23/23/8 |
1130 | วัตถุปลุกเสกทั้งหลายเป็นสิ่งผิดในพุทธศาสนา (สามัญญผลสูตร) 11/315/12 11/268/16 |
1131 | - อุบาสก อุบาสิกาก็ไม่ควรทำการปลุกเสกเวทอาคมทั้งหลาย (สุภสูตร) 12/206/1 12/194/21 |
1132 | บริขารที่ควรใช้และไม่ควรใช้ (จัมมขันธกะ) 7/22/4 7/21/1 |
1133 | บริขารที่ควรใช้และไม่ควรใช้. 22222226.22 6(ปกณิณกวรรค) 43/162/6 43/125/12 |
1134 | บริขารที่ควรใช้และไม่ควรใช้2 (ทุติยปาราชิกวรรณนา) 2/86/20 2/85/15 |
1135 | ธงชัยของพระอรหันต์คือ ผ้ากาสาวพัสตร์ (อ.พุทธสัญญกเถราปทาน) 71/280/4 71/262/8 |
1136 | โทณพราหมณ์ ขอทะนานที่ใช้ตวงพระสรีระธาตุ เพื่อใส่ในพระสถูป (มหาปรินิพพานสูตร) 13/333/20 13/326/11 |
1137 | ผู้ถวายวิหารแก่ผู้มีศีล ชื่อว่า ผู้ให้ทุกอย่าง (อ.รัตนจังกมนกัณฑ์) 73/58/19 73/48/9 |
1138 | จริงอยู่วิหารพันแห่ง เช่น มหาวิหาร, เจดีย์พันแห่ง ก็ดำรงพระศาสนาไว้ไม่ได้ . (อ.มหาปรินิพพานสูตร) 13/421/16 13/415/11 |
1139 | ผู้ใดปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ผู้นั้นชื่อว่าบูชาพระตถาคต (มหาปรินิพพานสูตร) 13/307/3 13/298/18 |
1140 | พระทำนวกรรมในวิหารเก่า ต้องเสวยทุกข์อย่างใหญ่ (อ.ภิงสกชาดก) 60/416/12 60/388/4 |
1141 | พระทะเลาะกันทั้งวัดเพราะรูปเหี้ยพ่นไฟ (อ.พรหมชาลสูตร) 11/226/13 11/191/11 |
1142 | ให้เขียนภาพสตรี-บุรุษ ไว้ในวิหาร ต้องอาบัติทุกกฏ พระองค์ทรงอนุญาต รูปดอกไม้ เครือเถา ฟันมังกร ดอกจอกห้ากลีบ (เสนาสนขันธกะ) 9/116/7 9/121/2 |
1143 | การวาดภาพมนุษย์หรือสัตว์เดรัจฉาน ไว้ในวิหารเป็นการไม่ควร. (เสนาสนักขันธกวรรณนา) 9/184/13 9/187/20 |
1144 | การให้ที่ไม่จัดเป็นบุญมี 5 อย่าง (เอกุตตริกะ) 10/490/1 10/445/3 |
1145 | อธิบายการให้ที่จัดว่าไม่เป็นบุญ (เอกุตตริก วัณณนา) 10/556/1 10/506/13 |
1146 | มหาปเทส ๔ (ไว้เทียบพุทธรูปและอื่นๆ..) (เภสัชชขันธกะ) 7/161/8 7/152/1 |
1147 | มหาปเทส ๔ วิธีตรวจสอบธรรมวินัย เทียบพระสูตร (มหาปรินิพพานสูตร) 13/293/5 13/285/14 |
1148 | ตอนสังคายนาครั้งที่ ๑ ตั้งธรรมาสน์ไว้ท่ามกลางมณฑป (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/32/19 1/31/23 |
1149 | - พระผู้แสดงธรรมนั่งบนธรรมาสน์นั้น (พาหิรนิทานวรรณนา) 1/35/20 1/34/19 |
1150 | ปาวาลเจดีย์...สารันทเจดีย์ สถานที่นี้เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วประชาชนได้สร้างเป็นวิหารถวายพระพุทธองค์ (อ.อายุสมโอสัชชนสูตร) 44/585/2 44/540/2 |
1151 | เมื่อพระพุทธเจ้าอุบัติขึ้นแล้ว มนุษย์พากันรื้อเจดีย์เก่าอันเป็นถิ่นของยักษ์ และนาคสร้างเป็นวิหาร (อ.นิกขันตสูตร) 25/305/4 25/271/20 |
1152 | ผู้ทำลายเจดีย์ ต้นโพธิ์ ประทุษร้ายพระบรมสารีริกธาตุ เป็นกรรมหนักเสมอด้วยอนันตริยกรรม (อ.พหุธาตุกสูตร) 22/312/1 22/291/23 |
1153 | คำว่า เจดีย์ : อารามเจดีย์, วนเจดีย์, รุกขเจดีย์ (อ.ภยเภรวสูตร) 17/297/2 17/241/10 |
1154 | คำว่า พระปฏิมา (พระพุทธรูป)ที่แทรกอยู่ในพระไตรปิฎกแต่ขัดกับพุทธพจน์ที่ว่าอัปปฏิโม (อ.พหุธาตุกสูตร) 22/312/5 22/292/1 |
1155 | คำว่า พระปฏิมาฯ ขัดกับพุทธพจน์ที่ว่า อัปปฏิโม (อ.ทักขิณาวังคสูตร) 23/406/21 23/383/22 |
1156 | -คำว่า พระปฏิมา ฯขัดกับพุทธพจน์ที่ว่า อัปปฏิโม (พรรณนารัตนสูตร) 39/236/8 39/229/4 |
1157 | พูดให้ถูกต้อง แม้ไม่ถูกใจ (อภยราชกุมารสูตร) 20/206/19 20/196/1 |
1158 | พระพุทธองค์ ทรงข่มลูกศิษย์ ข่มแล้วข่มเล่า ผู้มีสาระจะอยู่ได้ (มหาสุญญตสูตร) 23/25/9 23/24/1 |
1159 | ธรรมดาพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมทรงแสดงธรรมโดยไม่มีความอาฆาต . (เรื่องพระนางสามาวดี) 40/273/14 40/205/11 |
1160 | ผู้มีปัญญาชี้โทษ คนควรมองให้เหมือนผู้บอกขุมทรัพย์ (อ.คันธารชาดก) 59/327/12 59/230/12 |
1161 | สุนักขัตตะ ขอให้พระพุทธองค์แสดงฤทธิ์ (ปาฏิกสูตร) 15/3/1 15/2/26 |
1162 | ภิกษุ ประสงค์จะป้องกันตัว ให้ป้องกันตัวได้ ไม่ต้องอาบัติ ปาจิตตีย์ . (อ.ปหารสิกขาบทที่ ๔) 4/765/11 4/760/16 |
1163 | ภิกษุประสงค์จะป้องกันตัว แม้เขาตายก็ไม่ต้องอาบัติปาราชิก . (อ.ปหารสิกขาบทที่ ๔) 4/766/13 4/761/19 |
1164 | ภิกษุถูกผู้หญิงนั่งคร่อม สามารถถีบออกได้ ไม่ต้องอาบัติ (ปฐมปาราชิกกัณฑ์ วินีตวัตถุ) 1/677/1 1/655/3 |
1165 | ภิกษุหวังจะให้พ้นจากการสัมผัสของหญิง แม้ผลักหรือตี ก็ไม่เป็นอาบัติสังฆาทิเสส . (อ.สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๒) 3/171/17 3/163/6 |
1166 | ภิกษุเปลื้องตนจากการถูกข่มขืนได้ ชื่อว่าเป็นผู้ชนะสงคราม (ปฐมโยธาชีวสูตร) 36/176/1 36/172/15 |
1167 | พระมหากัสสปคิดถึงคำของ พระสุภัททะ จึงทำการสังคายนา (พหิรนิทานวรรณนา) 1/24/5 1/23/5 |
1168 | พระสาวกไม่ควรบัญญัติสิ่งที่พระพุทธเจ้าไม่บัญญัติ (เรื่องพระอุปเสน) 3/907/3 3/855/15 |
1169 | พระพุทธองค์ มิได้แต่งตั้ง ใครให้เป็นตัวแทนพระองค์ หลังจากที่ทรงปรินิพพานแล้ว . (โคปกโมคคัลลานสูตร) 22/155/10 22/149/10 |
1170 | พระพุทธองค์ประพฤติพรหมจรรย์มิใช่เพื่อเป็นเจ้าลัทธิ (พรหมจริยสูตร) 35/79/5 35/84/16 |
1171 | แม้พระพุทธองค์ ก็มิได้ คิดว่าจะปกครองสงฆ์ (มหาปรินิพพานสูตร) 13/274/9 13/264/8 |
1172 | พระพุทธองค์มิได้มอบสงฆ์ให้ใครปกครอง (สังฆเภทขันธกะ) 9/282/17 9/278/21 |
1173 | พระธรรม-วินัย คือตัวแทนพระศาสดา (มหาปรินิพพานสูตร) 13/320/20 13/313/6 |
1174 | พึงเข้าไปอาศัย เคารพ นับถือ ภิกษุผู้ประกอบด้วย ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใส10 ประการ (โคปกโมคัลลานสูตร) 22/158/14 22/150/23 |
1175 | ของที่ไม่ควรแจก 5 หมวด (เสนาสนขันธกะ) 9/151/16 9/155/13 |
1176 | ของที่ไม่ควรแบ่ง 5 หมวด (เสนาสนขันธกะ) 9/154/12 9/158/1 |
1177 | ครุภัณฑ์ (อ.เสนาสนักขันธกวรรณนา) 9/211/7 9/213/11 |
1178 | ครุภัณฑ์ที่ว่าไม่ควรสละ ขาดตัว แต่เมื่อภิกษุผู้สละและใช้สอย ด้วยอำนาจการแลกเปลี่ยนไม่เป็นอาบัติ (เสนาสนักขันธกวรรณนา) 9/212/17 9/214/23 |
1179 | การแลกอารามกับอารามวัตถุ (เสนาสนักขันธกวรรณนา) 9/213/5 9/215/8 |
1180 | อะไรคือรูปตามความเป็นจริงที่พระพุทธเจ้าตรัส ? (มหาโคปาลสูตร) 19/53/5 19/54/22 |
1181 | รูปที่อาศัยมหาภูตรูปทั้ง 4 มี 24 อย่าง (อ.สโตการิญาณนิเทศ) 69/212/1 69/210/19 |
1182 | ส่วนแห่งรูป 25 อย่าง (อ.มหาโคปาลสูตร) 19/63/11 19/64/25 |
1183 | อธิบาย รูป ทั้งที่เป็นอดีต จนถึง รูปใกล้ (ขันธวิภังค์) 77/1-477/1-4 77/1-4 |
1184 | รูปทั้งหมดต้องเป็นอย่างนี้ทั้งนั้น (รูปวิภัตติ) 76/191/7 76/177/6 |
1185 | อรูปขันธ์ 4 ชื่อว่า นาม (อ.ติตถายตนสูตร) 34/285/1 34/292/5 |
1186 | แม้อรูปขันธ์ทั้งหลายก็อาศัยธาตุดินโดยปริยายหนึ่งเหมือนกัน (อ.ฉวิโสธนสูตร) 22/225/18 22/213/11 |
1187 | นามย่อมเป็นไปเพราะอาศัย หทัยวัตถุ (อ.ขัคควิสาณสุตตนิทเทส) 67/641/15 67/479/16 |
1188 | จิตใดเกิดในอรูปภูมิ จิตนั้นเป็นสหชาตปัจจัยแก่อรูปธรรมเท่านั้น. (อ.สหชาตปัจจัยนิทเทส) 85/59/13 85/51/8 |
1189 | คำว่า ใจ คือ จิต ใจ มานัส หทัย บัณฑระ ฯ (สารีปุตตสุตตนิทเทส) 66/597/16 66/556/12 |
1190 | พระตถาคตเรียก กายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง 4 นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้างวิญญาณบ้าง (อัสสุตวตาสูตร) 26/292/12 26/268/12 |
1191 | กองไม้ มีธาตุดิน น้ำ ไฟ ลม อยู่ (ทารุกขันธสูตร) 36/637/10 36/625/6 |
1192 | ในข้าวเมล็ดหนึ่ง ย่อมมี ทั้งธาตุ ดิน น้ำ ไฟ ลม (อ.รูปกัณฑ์) 76/299/22 76/276/23 |
1193 | ลักษณะของธาตุ 4 (ปัญจกนิเทศ) 76/320/15 76/295/8 |
1194 | การเคลื่อนไหวกายโดยการแผ่ขยายแห่งธาตุลมอันเกิดจากกิริยาของจิต. . (อ.สติปัฏฐานสูตร) 17/714/1 17/592/12 |
1195 | ธาตุภายนอกอันเป็นทิพย์ (อ.รูปกัณฑ์) 76/180/7 76/168/18 |
1196 | กายทิพย์ของพรหมชั้นสุทธาวาส (หัตถกสูตร) 34/555/10 34/579/7 |
1197 | แม้กายทิพย์ของเทวดาตอนใกล้ตายยังเศร้าหมองมีเหงื่อไหลออกจากรักแร้ . . (จวมานสูตร) 45/501/7 45/483/10 |
1198 | ขันธ์ 1 , ขันธ์ 4 , ขันธ์ 5 (อ.ปฏิจจสมุปปาทวิภังคนิเทศ) 77/521/5 77/461/4 |
1199 | ขันธ์ 5 เสมือนกับศัตรูผู้ฆ่า ด้วยอาการ 2 อย่าง (อ.อาสีวิสสูตร) 28/385/4 28/376/12 |
1200 | พระพุทธเจ้าให้พิจารณาขันธ์ 5 ย่างลงสู่สัมมัตตนิยามด้วยอาการ 40 .ปัญญาวคฺค วิปสฺสนากถา (ฉบับบาลี) 31/629 (วิปัสสนากถา) 69/815/1 69/823/22 |
1201 | ธาตุทั้ง 4 ย่อมตั้งอยู่ไม่ได้ในนิพพาน (เกวัฏฏสูตร) 12/235/10 12/222/15 |
1202 | โทษของผู้ยึดติดรูป (อาทิตตปริยายสูตร) 28/357/1 28/352/7 |
1203 | รูปเหมือนพระพุทธเจ้า...ไม่มี (อ.เอกปุคคลวรรค) 32/214/6 32/181/18 |
1204 | ศิลปิน / ผู้มีฤทธิ์ก็ไม่สามารถสร้างรูปเปรียบพระพุทธเจ้าได้ (อ.มหาปทานสูตร) 13/121/13 13/116/19 |
1205 | เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วจะไม่มีผู้ใดเห็นพระองค์อีก (พรหมชาลสูตร) 11/66/8 11/57/24 |
1206 | ผู้ยึดติดในรูป...อันตราย (อ.มหาราหุโลวาทสูตร) 20/288/6 20/271/23 |
1207 | รูปทั้งหมดเป็นเหยื่อที่มารดักไว้ (นานาติตถิยสูตร) 24/401/9 24/312/18 |
1208 | แม้รูปร่างของพระพุทธเจ้าก็ต่ำทราม (อ.มหาปชาบดีโคตมีเถรีคาถา) 54/261/4 54/271/9 |
1209 | รูปทั้งหมดแม้เพียงกล่าวชมเชยก็...ผิด (ปฐมมารปาสสูตร) 28/192/4 28/188/4 |
1210 | รูปทั้งหมดต้องเป็นแบบนี้ (กลหวิวาทสุตตนิทเทส) 66/153/15 66/145/1 |
1211 | เชื่อแต่ครูบาอาจารย์พาให้เสื่อม (ปุคคลปสาทสูตร) 36/501/17 36/496/11 |
1212 | เมาในรูปตายแล้วเป็นหนอนกินขี้ (อ.อัสสกชาดก) 57/306/20 57/232/11 |
1213 | เมาในรูปตายแล้วเป็นนกยาง (เรื่องท้าวสักกะ) 40/370/13 40/274/7 |
1214 | อาลัยในรูป...ตายแล้วเกิดเป็นเล็น (เรื่องพระติสสเถระ) 43/17/7 43/14/6 |
1215 | อาลัยในรูป...ตายแล้วเกิดเป็นเต่า (อ.ภัททชิเถรคาถา) 51/107/20 51/106/2 |
1216 | รูปอันเลิศเป็นแบบนี้ (อ.ทุติยอัคคสูตร) 35/232/3 35/237/15 |
1217 | คุณและโทษของรูป (มหาทุกขักขันธสูตร) 18/120/3 18/114/20 |
1218 | คุณและโทษของกาม (มหาทุกขักขันธสูตร) 18/115/12 18/110/11 |
1219 | เรียนรู้จักรูปตามความเป็นจริง (มหาสติปัฏฐานสูตร) 14/213/11 14/205/21 |
1220 | ภิกษุปลุกเสกเลขยันต์...ผิด (สามัญญผลสูตร) 11/315/20 11/268/16 |
1221 | ชาวพุทธที่สกปรก (จัณฑาลสูตร) 36/373/3 36/368/3 |
1222 | การละศาสดาต้นแล้วถือศาสดาหลัง (สุทธัฏฐกสุตตนิทเทส) 65/502/18 65/405/24 |
1223 | ผู้ถือร่างกายของพุทธเจ้าว่าประเสริฐ เป็นการกล่าวตู่พุทธองค์ (สูตรที่ ๒) 33/346/7 33/307/13 |
1224 | โลกในความรู้ของพุทธเจ้า มีโทษมากขนาดนี้ (มหากรุณาสมาปัตติฯ) 68/1100/1 68/772/8 |
1225 | พระรัตนตรัยย่อมไม่ใช่วัตถุทั้งหมดทั้งสิ้น (ที่พึ่งไม่ใช่วัตถุ) (อ.อัตตทีปวรรค) 27/90/4 27/93/4 |
1226 | รูปวิภัตติ (เอกกนิเทศ) 76/191/6 76/177/6 |
1227 | พระพุทธเจ้าปฏิเสธรูป ตั้งแต่ทรงแสดงพระธรรมเทศนากัณฑ์แรก. (ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร) 6/45/10 6/20/3 |
1228 | รูปทั้งหลายเป็นของร้อน แม้รู้สึก สุข ทุกข์ เฉย ก็ยังร้อน. (อาทิตตปริยายสูตร) 6/105/7 6/61/4 |
1229 | รูปทั้งหมดเป็นสักว่ารูป ต้องเห็นอย่างนี้เท่านั้น. (อนัตตลักขณสูตร) 6/55/7 6/27/25 |
1230 | ถ้าไม่เห็นตามนี้ พระพุทธเจ้าตรัสว่า ไม่ใช่ฐานะ ที่จะพ้นจากกองทุกข์ไปได้. . (ปัญญาวรรค วิปัสสนากถา) 69/813/4 69/822/5 |
1231 | เพราะฉะนั้นรูปทั้งหมดจึงเป็นที่พึ่งไม่ได้ พระพุทธเจ้าให้พึ่งพระธรรม. (อัตตทีปสูตร) 27/88/7 27/91/4 |
1232 | อรรถกถาอธิบาย รูปทั้งหมดจึงเป็นที่พึ่งไม่ได้ (อัตตทีปสูตร) อรรถกถา (อ. อัตตทีปสูตร) 27/90/4 27/93/4 |
1233 | เหมือนปาราชิกข้อที่ 5 (อ.ปุตตมังสสูตร) 26/310/1 26/284/22 |
1234 | ภิกษุทุศีลแม้นั่งบริโภคในท่ามกลางสงฆ์ก็ชื่อว่า บริโภคอย่างขโมย . (อ.จีวรสูตร) 26/625/19 26/575/8 |
1235 | ภิกษุที่บริโภคอย่างเป็นหนี้ (อ.โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๘) 3/951/17 3/898/2 |
1236 | ภิกษุลามกบริโภคปัจจัย 4 ที่เขาถวายด้วยศรัทธา เที่ยวปล่อยจิตใจให้สนุกสนานต้องไหม้อยู่ในนรกตลอดพุทธันดรหนึ่ง (อ.ภิกขุสูตร) 26/722/7 26/678/2 |
1237 | ภิกษุไม่ได้พิจารณาปัจจัย 4 แล้วบริโภค โดยมากจะไม่พ้นจากนรก และกำเนิดสัตว์เดรัจฉาน (อ.ลิตตชาดก) 56/321/14 56/238/13 |
1238 | ภิกษุไม่ได้พิจารณาปัจจัย 4 แล้วบริโภค แม้ของที่พวกญาติให้แล้วก็ตาม ย่อมไม่พ้นจากอัตภาพแห่งยักษ์และเปรต (อ.วิสสาสโภชนชาดก) 56/340/1 56/252/12 |
1239 | พระทุศีลกินก้อนเหล็กแดงยังดีกว่ากินข้าวชาวบ้าน (อัคคิขันธูปมสูตร) 37/265/9 37/217/12 |
1240 | ภิกษุทุศีล... คือเสนียด...คือโจร (เวรัญชกัณฑวรรณนา) 1/361/2 1/338/12 |
1241 | มิจฉาชีพขั้นสุดยอด (จตุตถปาราชิกวรรณนา) 2/616/16 2/601/3 |
1242 | ภิกษุเจริญเมตตาจิตแม้ชั่วครู่ ก็ชื่อว่า ไม่ฉันบิณฑบาตของชาวบ้านให้เสียเปล่า . (อัจฉราสังฆาตวรรค) 32/106/11 32/90/11 |
1243 | ภิกษุเจริญเมตตาไม่ฉันข้าวชาวบ้านให้เสียเปล่า (อรรถกถาสูตรที่๓) 32/121/14 32/103/3 |
1244 | เปรตก็บรรลุธรรมได้ (อ.โปสาลมาณวกปัญหานิทเทส) 67/357/17 67/324/12 |
1245 | อริยะในเรือนจำ (อ.ธังกชาดก) 58/744/15 58/545/8 |
1246 | ฟังเสียงนกก็บรรลุธรรม (อ.มหาปทานสูตร) 13/127/21 13/123/3 |
1247 | ฟังเพลงก็บรรลุธรรม (อ.สุภาษิตสูตร) 47/417/17 47/337/1 |
1248 | อริยะข้ามชาติ (อ.พหุธาตุกสูตร) 22/308/5 22/288/2 |
1249 | อริยะที่ชอบวัฏฏะ (อ.เอกาภิญญาสูตร) 31/35/12 31/36/6 |
1250 | พิจารณาดอกไม้ก็บรรลุธรรมได้ (ภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป) 43/384/13 43/294/13 |
1251 | ผ้าเก่าก็เป็นอาจารย์ได้ (พระปิโลติกเถระ) 42/121/14 42/101/6 |
1252 | ดูพยัพแดดก็บรรลุธรรม (ภิกษุผู้เจริญวิปัสสนา) 42/236/6 42/201/5 |
1253 | บรรลุธรรมในปากเสือ (อ.สติปัฏฐานสูตร) 17/648/4 17/536/14 |
1254 | งูพิษกัดก็ไม่กลัวตายแต่กลัวไม่รู้ธรรม (อ.ฐานสูตร) 34/196/8 34/201/3 |
1255 | อย่างไร? จึงจะไม่คลาดจากสติปัฏฐาน (อ.สติปัฏฐานสูตร) 17/692/8 17/574/1 |
1256 | ปุถุชนสอนปุถุชนก็บรรลุธรรมได้ (เขมกสูตร) 27/290/8 27/277/10 |
1257 | กฎแห่งกรรม (1) (จูฬกัมมวิภังคสูตร) 23/251/1 23/232/15 |
1258 | กฎแห่งกรรม (2) (มหากัมมวิภังคสูตร) 23/271/1 23/251/25 |
1259 | กฎแห่งกรรม (3) (อ.พรหมนารทชาดก) 64/267/1 64/251/14 |
1260 | หนีไม่พ้นกรรม (อ.มตกภัตตชาดก) 55/269/1 55/255/7 |
1261 | โทษของการติเตียนพระอริยะ (1) (พยสนสูตร) 38/267/6 38/278/6 |
1262 | โทษของการด่าพระอริยะ (2) (เวรัญชกัณฑวรรณนา) 1/298/7 1/280/1 |
1263 | โทษของการด่าพระอริยะ (3) (เรื่องชัมพุกาชีวก) 41/228/14 41/188/22 |
1264 | โทษของการด่าพระอริยะ (4) (โกกาลิกสูตร) 47/600/2 47/489/3 |
1265 | โทษของการด่าพระอริยะ (5) (อ.โสณสูตร) 44/552/23 44/509/20 |
1266 | โทษของการคิดลามกกับพระอริยะ (เรื่องพระโสไรยเถระ) 40/445/10 40/326/9 |
1267 | วิธีขอขมาพระอริยะ (เวรัญชกัณฑวรรณนา) 1/300/1 1/281/10 |
1268 | ถ้าบาปหนัก...แม้ขอขมาก็ไม่พ้นนรก (อชครเปรต) 42/90/6 42/75/6 |
1269 | ทำบาปพอประมาณ...แก้ไขได้ (อสังขาสูตร) 29/198/14 29/188/15 |
1270 | ประมาณในการนับเวลาหนึ่งกัป (สาสปสูตร) 26/515/11 26/475/6 |
1271 | มหากัป (เชิงอรรถ) 79/213/16 79/205/18 |
1272 | หน่วยในการนับ จาก แสน ถึง นิรัพพุทะ (อรรถกถาโกกาลิกสูตร) 47/612/13 47/612/13 |
1273 | หน่วยในการนับ จาก อัพพุทะ ถึง ปทุมะ (โกกาลิกสูตร) 47/601/14 47/490/12 |
1274 | ลำดับการนับจาก สิบ ถึง อสังเขยยะ (พรรณนาอัพภันตรนิทาน) 70/195/2 70/173/17 |
1275 | พระเจ้าจักรพรรดิพระนามว่า ทัฬหเนมิ (จักกวัตติสูตร) 15/100/8 15/100/5 |
1276 | ราชาของพระเจ้าจักรพรรดิ (จักกวัตติสูตร) 34/35/7 34/35/9 |
1277 | พระเจ้าจักรพรรดิกาลิงคราช (อ.กาลิงคชาดก) 60/272/11 60/254/19 |
1278 | พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงประกอบด้วยแก้ว 7 ประการและความสัมฤทธิผล 4 อย่าง. (พาลบัณฑิตสูตร) 23/160/5 23/147/3 |
1279 | ฤทธิ์ 4 อย่างและ แก้ว 7 ประการของพระเจ้าจักรพรรดิ (มหาสุทัสสนสูตร) 13/475/14 13/469/8 |
1280 | วัตรของพระเจ้าจักรพรรดิ 10 ประการ (อ.จักกวัตติสูตร) 15/132/9 15/130/6 |
1281 | ที่มาของคำว่า กษัตริย์, ราชา (อัคคัญญสูตร) 15/160/1 15/157/1 |
1282 | ข้อปฏิบัติของพระราชาผู้เป็นบัณฑิต (กุกกุชาดก) 59/209/4 59/145/5 |
1283 | คุณธรรมของกษัตริย์ (สุมังคลชาดก) 59/495/2 59/347/8 |
1284 | ธรรมของพระราชา 10 ประการ 1 (มหาหังสชาดก) 62/387/5 62/352/18 |
1285 | ธรรมของพระราชา 10 ประการ 2 (อ.นันทิยมิคราชชาดก) 59/111/7 59/78/15 |
1286 | กิจอันประเสริฐของพระราชา (เตสกุณชาดก) 61/537/5 61/479/9 |
1287 | กษัตริย์ไม่ควรข้ามไปในที่มิใช่ท่า (อ.สัมภวชาดก) 61/430/20 61/384/6 |
1288 | คุณธรรมของผู้บริหารคณะ (กปิชาดก) 59/297/2 59/208/2 |
1289 | คุณธรรมของผู้เป็นหัวหน้า (มหากปิชาดก) 59/332/2 59/233/12 |
1290 | ธรรมเป็นเครื่องสงเคราะห์ 4 ประการ (สังคหสูตร) 35/117/2 35/121/2 |
1291 | พระเจ้าปเสนทิโกศลให้ฝ่ายในราชวังเรียนธรรม (รตนวรรคสิกขาบทที่ ๑) 4/801/17 4/794/18 |
1292 | มหาสุบินนิมิต ข้อ 10 , 11 (มหาสุบินชาดก) 56/229/1 56/170/1 |
1293 | เรื่องดาบสทั้งสองสาปกัน (คำสาปแช่งไม่ให้ผลกับผู้ที่ไม่ได้ทำผิด) (ยมกวรรควรรณนา) 40/62/4 40/44-49 |
1294 | เรื่อง ชาติมันตดาบส แช่ง มาตังคฤษี (อ.อัคคิภารทวาชสูตร) 46/357/8 46/296-297 |
1295 | ผลของการทำร้าย ผู้ไม่ประทุษร้าย (อัปปมาทวรรควรรณนา) 40/242/17 40/181-187 |
1296 | ผู้ประทุษร้ายต่อผู้ไม่ประทุษร้าย บาปย่อมสนองผู้นั้นเหมือนซัดฝุ่นทวนลม (พิลังคิกสูตร) 25/209/4 25/184/3 |
1297 | ทำผิดพลาดต่อมารดา บิดา ย่อมไปอบาย (อ.สังคิติสูตร) 16/305/7 16/293/8 |
1298 | ปฏิบัติผิดใน มารดา บิดา บาปมาก ไปนรกแห่งใดแห่งหนึ่ง (ทุติยขตสูตร) 35/8/10 35/9/15 |
1299 | ลูกเตะตี ขู่ตะคอกด่าว่า พ่อแม่ ทั้งรู้บ้าง ไม่รู้บ้างย่อมบาป (อ.เจตนาสูตร) 35/408/23 35/427/7 |
1300 | สัมมาทิฏฐิ ด่าพวก มิจฉาทิฏฐิ ย่อมเป็นอกุศลกรรม (อ.ปฐมวิหารสูตร) 30/41/16 30/38/14 |
1301 | เรื่องพ่อแม่ เป็นพระอรหันต์ของลูก (อ.พรหมสูตร) 45/671/17 45/643/15 |
1302 | เมื่อลูกว่าร้ายต่อพ่อแม่ (ซึ่งเป็นพระอริยะของตน) แก้ไขโดยการขอขมา (ขุททกกัณฑวรรณา) 4/721/16 4/719/19 |
1303 | ผลของผู้มีจิตคิดประทุษร้าย ด่าว่าสาปแช่ง ผลคิดร้ายนั้นย่อมกลับสนองตน 49/86/9 49/64/10 |
1304 | ว่าด้วยพระพุทธเจ้าไม่รับคำด่าของพราหมณ์ (อักโกสกสูตร) 25/201/13 25/177/2 |
1305 | คำสาปแช่งมีผล เป็นตามคำสาป (ปัณฑรกชาดก) 61/487/15 61/435/10 |
1306 | กฎหมายทั่วไปจะขัดแย้ง กับพระไตรปิฎกไม่ได้ (คำนำหน้า 3 บรรทัด 21) 1-91-91/3/21 1-91/12/21 |
1307 | ภิกษุชักชวนทายกในสิ่งที่ไม่สมควร ต้องทุกกฏ (สุภัททวุฒบรรชิต) 7/160/6 7/151/2 |
1308 | อรรถกถา ที่เขียนด้วยคำพลั้งเผลอ ไม่ควรถือเอาเป็นประมาณ . (อ.สังฆาทิเสส สิกขาบทที่ ๑๓) 3/636/12 3/600/26 |
1309 | ผู้กล่าวอ้างคำสอนที่มิใช่พุทธศาสนา ว่าเป็นคำสอนพุทธ ชื่อว่า เป็นข้าศึกแก่พุทธศาสนา (ขุททกกัณฑวรรณนา วิเลขนสิกขาบทที่ ๒) 4/752/11 4/748/21 |
1310 | ภิกษุพหูสูต ไม่เอาใจใส่ บอกสอนคำของพระพุทธเจ้าแก่ผู้อื่นเป็นเหตุให้พระสัจ-ธรรม อันตรธานไป (สุคตสูตร) 35/382/1 35/399/25 |
1311 | แม้พระตถาคต ก็มิได้ดำริว่าจะปกครองสงฆ์ (มหาปรินิพพานสูตร) 13/274/9 13/264/8 |
1312 | พระพุทธองค์ประพฤติพรหมจรรย์ มิใช่เพื่อเป็นเจ้าลัทธิ (พรหมจริยสูตร) 35/79/5 35/84/16 |
1313 | บุคคลไม่พึงทำตนเป็นทาส เว้นแต่พระโพธิสัตว์ (อ.กามสูตร) 24/312/12 24/235/14 |
1314 | พระพุทธเจ้าไม่ทรงติดในยศ (นาคิตสูตร) 36/57/7 36/57/20 |
1315 | พระสาวกไม่ควรบัญญัติสิ่งที่ พระพุทธเจ้าไม่บัญญัติ (เรื่องพระอุปเสนะ) 3/907/3 3/855/15 |
1316 | พระสาวกย่อมแสดงธรรม ตามคำของพระพุทธองค์ (อ.ทุกนิเทส) 79/273/16 79/253/8 |
1317 | ภิกษุไม่เคารพในสิกขา จะกล่าวว่าเคารพพระพุทธเจ้า มิใช่ฐานะที่จะมีได้ . (สักกัจจสูตร) 37/249/6 37/204/15 |
1318 | ผู้ไม่ถือตามคำของพระพุทธเจ้า และพระสาวก เรียกว่า ผู้ตกต่ำ. (คุหัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๒) 65/206/10 65/167/1 |
1319 | เมื่อภิกษุถูกกล่าวหาด้วยคำไม่จริง พระพุทธเจ้าให้กล่าวแก้ได้ (นางปริพาชิกาชื่อสุนทรี) 43/198/1 43/152/21 |
1320 | ผู้บูชาธรรม คือ ผู้บูชาพระพุทธเจ้า (อ.ภิกขาปรัมปรชาดก) 60/533/19 60/495/8 |
1321 | พวกภิกษุติเตียนพระพุทธองค์ตอนตั้งพระอัครสาวก (เรื่องสัญชัย) 40/131/11 40/98/6 |
1322 | ชาวโลกติเตียนพระพุทธเจ้าแบบผิดๆ (มหาขันธกะ) 6/128/14 6/75/22 |
1323 | ธรรมของพระพุทธเจ้า นั้น หาค่าไม่ได้ (อ.มหาสุตโสมชาดก) 62/680/1 62/619/17 |
1324 | ธรรมและอธรรมจะลงลอยกันไม่ได้ (มหาสุตโสมชาดก) 62/626/8 62/571/26 |
1325 | ธรรมวินัยเป็นสิ่งที่ควรเปิดเผย (ปฏิจฉันนสูตร) 34/567/1 34/589/14 |
1326 | อาศัยอำนาจประโยชน์ 10 ประการ จึงทรงบัญญัติพระวินัย เพื่อข่มภิกษุผู้เก้อยาก . (ทุติยปาราชิกกัณฑ์) 02/11/12 2/8/5 |
1327 | ภิกษุผู้หลอกลวง เช่นร่ายมนต์ ประจบประแจง เป็นต้น ชื่อว่า ไม่นับถือพระตถาคต เป็นผู้ไปจากธรรมวินัยแล้ว (กุหนาสูตร) 45/682/1 45/656/3 |
1328 | - ภิกษุผู้หลอกลวง ด้วยการหลอกลวง 3 อย่าง (ปุราเภทสุตตนิทเทสที่ ๑๐) 66/20/19 66/19/20 |
1329 | - ภิกษุผู้หลอกลวง ด้วยการหลอกลวง 3 อย่าง (ขัคควิสาณสุตตนิทเทส) 67/577/4 67/582/18 |
1330 | ภิกษุผู้ไม่พิจารณา ปัจจัย 4 ก่อนบริโภค ถ้าทรงบัญญัติ ได้จะให้เป็นอาบัติปาราชิกข้อที่ 5 (อ.ปุตตมังสสูตร) 26/310/10 26/285/5 |
1331 | พระพุทธองค์ทรงตำหนิ ภิกษุผู้ไม่ชอบลัทธิของพระเทวทัตแต่ก็ยังไปคบกับพวกพระเทวทัต (ภิกษุคบภิกษุผู้เป็นฝักฝ่ายผิดรูปใดรูปหนึ่ง) 43/361/6 43/277/3 |
1332 | สถานที่ ที่พระพุทธองค์ทรงอยู่จำพรรษาในช่วง 20 พรรษาต้น (อ.สมจิตตวรรคสูตรที่ ๕) 33/368/5 33/328/21 |
1333 | คุณธรรมที่ยังชุมชนให้ยึดมั่นตั้งอยู่ ดำรงอยู่ (สุภสูตร) 12/206/1 12/197/21 |
1334 | บุคคลพิจารณา รูปใดแล้วได้บรรลุอรหันต์ รูปนั้น ชื่อว่ารูปอันเลิศ (อ.ทุติยอัคคสูตร) 35/232/2 35/237/15 |
1335 | อาการ 2 อย่างสำหรับผู้สิ้นอาสวะแล้ว (อ.มหาสมัยสูตร) 14/92/14 14/88/9 |
1336 | เมื่อศีลดีแล้ว สมาธิย่อมเป็นไปพร้อม (กติปุจฉาวารวัณณา) 10/390/15 10/355/21 |
1337 | เดชของผู้มีศีลย่อมเผาผลาญ ผู้ประทุษร้าย (อ.ทหรสูตร) 24/416/15 24/327/18 |
1338 | พึงให้อภัย เฉพาะ ผู้ที่ผิดต่อกัน และได้ขอขมาแล้ว (วุฏฐิสูตร) 37/743/11 37/611/10 |
1339 | ผู้ด่า ย่อมได้รับการด่าตอบ (ทุติยสังคามวัตถุสูตร) 24/475/8 24/380/14 |
1340 | ผู้ชักชวนผู้อื่นทำอกุศลย่อมได้ อกุศลตามจำนวนผู้ถูกชักชวน . (อ.เอกธัมมาทิบาลีสูตรที่ ๕) 33/197/15 33/171/12 |
1341 | ผู้อนุโมทนาบุญ ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่งบุญ (กาลทานสูตร) 36/84/5 36/83/13 |
1342 | สวรรค์ในอก นรกในใจ จริงหรือ? (ขณสูตร) 28/260/1 28/254/7 |
1343 | ถ้าคิดว่า จิตเป็นกุศลอย่างเดียวก็พอ ย่อมไปนรก (อ.อาหารสูตร ) 30/282/13 30/33/14 |
1344 | บุคคลผู้ปรารถนาวัฏฏะ ปฏิบัติโดยที่สุด อภิญญา 5 สมาบัติ 8 ก็จัดว่าเป็นการปฏิบัติผิด (อ.ปฏิปทาสูตรที่ ๓) 26/36/10 26/33/14 |
1345 | ผู้ถึงไตรสรณะ ชื่อว่า ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล (อ.ทักขิณาวิภังคสูตร) 23/405/9 23/382/6 |
1346 | การถือมงคล อมงคล (สุทธัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๔) 65/496/19 65/400/11 |
1347 | การดูการฟังที่เป็นข้าศึกแห่งธรรม (อ.อามกธัญญเปยยาลวรรค) 31/507/18 31/505/18 |
1348 | สิ่งที่เกี่ยวกับดนตรี ทุกชนิด เลว (อ.วีณาสูตรที่ ๙) 28/494/17 28/469/16 |
1349 | ฤๅษีก่อเจดีย์ทรายบูชา ในสมัยยังไม่มีพระพุทธเจ้า (อ.สิริมาเถรคาถา) 51/90/14 51/89/8 |
1350 | อ้อนวอนโดยชอบควรอ้อนวอนอย่างไร ? (อายาจนวรรคสูตรที่ ๑) 33/466/3 33/437/3 |
1351 | ยา หรือ เครื่องป้องกันอันใด ก็ไม่สามารถกำจัดเวทนา อันเกิดจากผลกรรมได้ . (อ.สิวกสูตร) 29/51/19 29/48/16 |
1352 | นรชนพึงสละทรัพย์ อวัยวะ ชีวิต เมื่อนึกถึงธรรม (อ.มหาสุตโสมชาดก) 62/705/6 62/642/17 |
1353 | บุญคุณพ่อแม่ตอบแทนได้ยาก (สมจิตตวรรคสูตรที่ ๒) 33/357/10 33/318/16 |
1354 | เหตุที่ทำให้สตรี ตั้งครรภ์ มี 7 อย่าง (ปฐมปาราชิกวรรณนา) 1/716/1 1/691/4 |
1355 | หญิง 5 จำพวกไม่ควรคบ (จุลลกุณาลชาดก) 60/108/1 60/101/20 |
1356 | การปรินิพพาน ของพระสารีบุตร (อ.มหาปรินิพพานสูตร) 13/381/17 13/374/16 |
1357 | พระพุทธองค์ทรง อึดอัด ระอา รังเกียจ ในอิทธิปาฏิหาริย์ และอาเทสนาปาฏิหาริย์ (เกวัฏฏสูตร) 12/230/2 12/217/4 |
1358 | การตายที่มีความห่วงใย เป็นเหตุให้เกิดเป็น ยักษ์ , สุนัข (อ.มหาสุทัสสนสูตร) 13/525/9 13/519/22 |
1359 | พระราชาประทุษร้ายฤๅษี...เป็นเหตุให้เมืองพินาศ (อ.อุปาลิวาทสูตร) 20/144/21 20/138-145 |
1360 | คราวสุนัขดำออกกัดกิน ผู้ทุศีล (มหากัณหชาดก) 60/168/1 60/158/16 |
1361 | เหตุที่ทำให้พระธรรมเทศนาไม่แจ่มแจ้งแก่พระพุทธเจ้าในกาลบางคราว (ปุณณิยสูตร) 38/257/13 38/259/4 |
1362 | การฟังเสียงเพลง เสียงพิณ เป็นกิจเลว (อนุตตริยสูตร) 36/608/10 36/598/7 |
1363 | สัตว์งมงาย 4 จำพวก ย่อมกลัวสิ่งที่ไม่ควรกลัว (อ.พราหมณมิกสูตร) 47/241/4 47/192/21 |
1364 | วิธีการหลอกลวง... ย่อมจะได้ลาภ (ลาภครหิกชาดก) 58/297/2 58/218/15 |
1365 | สิ่งที่ควรเปิดเผยและปิดบัง (ปฏิจฉันนสูตร) 34/567/2 34/589/14 |
1366 | มัวเมาในรูปตายแล้วเกิดเป็นหนอน (อ.อัสสกชาดก) 57/306/20 57/232/7 |
1367 | ศิษย์ล้างครู (อ.อัมพชาดก) 60/216/16 60/203/25 |
1368 | ติดลาภตายแล้วไปนรก (สคัยหกสูตร) 26/652/5 26/601/2 |
1369 | เมื่อได้เห็นคนพิการแสดงว่าเราก็เคยเป็น (ทุคตสูตร) 26/524/8 26/483/6 |
1370 | สาเหตุที่ทำให้โง่ (เรื่องพระจูฬปันถกเถระ) 40/328/10 40/244/13 |
1371 | ทำบาปแล้วเกิดเป็นลิง (อ.โคปกโมคคัลลานสูตร) 22/167/13 22/158/18 |
1372 | ช้างอุปัฏฐากพระ (อ.อัญญาโกญฑัญญสูตร) 25/340/9 25/304/6 |
1373 | การถามปัญหา 5 อย่าง (อ.ปฐมปฏิจจสมุปบาทสูตร) 26/15/5 26/13/18 |
1374 | มีปัญญาเหมือนหม้อคว่ำ (อวกุชชิตสูตร) 34/98/6 34/101/6 |
1375 | พิษร้ายภัยสวาท... เรื่องหญิงฆ่าผัว (อ.ติตถิยสูตร) 34/372/13 34/377/1 |
1376 | เหตุแห่งความฝัน (อ.สุปินสูตร) 36/433/18 36/426/6 |
1377 | คนทำบุญให้คน (อ.จาปาเถรีคาถา) 54/397/5 54/408/2 |
1378 | คนทำบุญให้คน...ท้ายสุดได้อนาคามิผล (เรื่องบุตรของคนฆ่าโค) 43/8/7 43/7/10 |
1379 | เทศน์พอเป็นอุปนิสัย (อ.จูฬสกุลุทายิสูตร) 20/640/19 20/611/16 |
1380 | อานุภาพบุญแม้น้อยนิด (อ.อากังเขยยสูตร) 17/419/12 17/337/17 |
1381 | โยมที่สงฆ์ควรลงโทษ (ปัตตสูตร) 37/685/2 37/562/3 |
1382 | เทวดา - มนุษย์ มีดีต่างกัน (ฐานสูตร) 37/790/3 37/649/3 |
1383 | ทุกปัญหาต้องกล้าถาม (ปุณณิยสูตร) 37/671/15 37/551/6 |
1384 | ฝนแล้ง - น้ำท่วม หมอดูก็รู้ไม่จริง (วัสสสูตร) 36/438/1 36/430/10 |
1385 | ไม่มีผู้เป็นที่รัก...ยิ่งกว่าตน (ราชสูตร) 44/480/3 44/442/3 |
1386 | เสี้ยวหนึ่งของพุทธคุณ...ก็มีอนุภาพมาก (นายทารุสากฏิกะ) 43/170/6 43/131/10 |
1387 | เพียงแค่ เลื่อมใส (มัฏฐกุณฑลี) 40/42/16 40/32/16 |
1388 | การบูชาที่เลิศ (อ.มหาปรินิพพานสูตร) 13/421/18 13/415/13 |
1389 | ไหว้จีวรพระก็ได้บุญมาก (สุสัญญกเถราปทาน) 71/279/1 71/261/3 |
1390 | ธรรมทายาท (ธรรมทายาทสูตร) 17/202/1 17/168/1 |
1391 | แม่บ้านเวเทหิกา...ผู้ดีจอมปลอม (กกจูปมสูตร) 18/257/15 18/243/14 |
1392 | กฎของเทวดารักษาต้นไม้ (อ.ปาจิตตีย์ ข้อ ๑๑) 4/270/3 4/291/6 |
1393 | ธรรมของเทวดารักษาต้นไม้ (ธรรมิกสูตร) 36/698/1 36/681/1 |
1394 | เป็นเศรษฐีเพราะหนูตาย (อ.จุลลกเศรษฐีชาดก) 55/192/18 55/182/6 |
1395 | ผลของผู้ที่ชอบสั่งใช้สมณะ (พระนางสามาวดี) 40/302/20 40/227/18 |
1396 | เทศกาลคนชั่ว (เรื่องพาลนักษัตร) (เรื่องพาลนักษัตร) 40/345/5 40/255/5 |
1397 | เป็นฤๅษีแต่สอนศาสนาพุทธ..บาป (อ.อัมพัฏฐสูตร) 11/571/19 11/487/16 |
1398 | การพูดแบบอริยะ (ทุติยโวหารสูตร) 35/615/8 35/638/8 |
1399 | พูดดีเป็นชั่ว (ทุกถาสูตร) 36/329/1 36/325/3 |
1400 | วันที่ควรระลึกถึง (สรณียสูตร) 34/25/13 34/25/3 |
1401 | คนคุ้นเคย (ปัญหาที่ภิกษุทูลถาม) 42/453/1 42/384/12 |
1402 | พระพุทธเจ้าเป็นผู้หนักในธรรม (อ.รถวินีตสูตร) 18/358/12 18/343/15 |
1403 | พระพุทธเจ้าสงเคราะห์คนยากไร้ (อ.กุณฑกปูวชาดก) 56/419/11 56/310/6 |
1404 | พระพุทธเจ้าสงเคราะห์คนยากไร้ (นางปุณณทาสี) 42/458/7 42/162/21 |
1405 | ความทุกข์เกิดแต่ของที่รัก (ปิยชาติกสูตร) 21/170/17 21/162/21 |
1406 | บ้าหมอดู-หมอเดา-ถือมงคลตื่นข่าว (มังคลชาดก) 56/303/3 56/224/10 |
1407 | ผู้ไม่ถูกนินทาและสรรเสริญ..ไม่มี (อตุลอุบาสก) 42/465/4 42/394/13 |
1408 | กำหนดเหตุให้ฆ่า (1) (อ.ภัคคชาดก) 57/30/10 57/25/7 |
1409 | กำหนดเหตุให้ฆ่า (2) (อ.เทวธรรมชาดก) 55/205/1 55/194/2 |
1410 | นานาลามก (อ.ทุฏฐัฏฐกสุตตนิเทส ที่ ๓) 65/483/3 65/389/13 |
1411 | สวย-รวย-นิสัยดี...แต่ไม่มีคู่ (อ.อิสิทาสีเถรีคาถา) 54/469/12 54/477/14 |
1412 | ประทุษร้ายผู้มีศีลย่อมวิบัติ (อ.ภรุราชชาดก ) 57/334/8 57/254/14 |
1413 | ปัญญาของพระโพธิสัตว์ (อ.คามณิจันทชาดก ) 58/63/1 58/48/11 |
1414 | เทวดาขัดขวางความพยายามของคนไม่ได้ (อ.จุลลกาลิงคชาดก) 58/381/6 58/282/16 |
1415 | ไม่รู้อิ่ม (อ.เสนกชาดก) 59/269/11 59/189/1 |
1416 | พระอรหันต์จอมโหด (อ.คูถปาณกชาดก) 57/412/3 57/314/19 |
1417 | พระอรหันต์ที่พูดไม่สุภาพ (ปิลินทวัจฉสูตร) 44/330/13 44/300/11 |
1418 | สัตว์คบกันด้วยธาตุ (จังกมสูตร) 26/443/6 26/406/4 |
1419 | เรื่องพระเวสสันดร (เวสสันตรชาดก) 64/484/1 64/455/4 |